กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ


“ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค ”

อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางมาริสา เส็มหมัด

ชื่อโครงการ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค

ที่อยู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-L3333-03-14 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2562 ถึง 10 ตุลาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 62-L3333-03-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2562 - 10 ตุลาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 3,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 20 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กปฐมวัยเป็นช่วงที่สำคัญที่สุดในชีวิตเด็กจึงควรได้รับการเลี้ยงดูเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดและเหมาะสมเพื่อให้เด็กมีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์และมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย อย่างไรก็ตามจากสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคมในปัจจุบันเด็กปฐมวัยอายุ 2-5 ปีมากว่าร้อยละ 60 เป็นเด็กก่อนวัยเรียนต้องถูกฝากไว้ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาลซึ่งเป็นสถานที่ที่เด็กอยู่รวมกันเป็นจำนวนมาก เมื่อเจ็บป่วยจะสามารถแพร่เชื้อโรคติดต่อสู่กันได้ง่ายในเด็กเล็กมีภูมิต้านทานต่ำจะป่วยได้บ่อย โรคที่พบบ่อยได้แก่โรคติดต่อทางเดินหายใจโรคมือเท้าปาก โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน และโรคเหาเป็นต้นส่งผลกระทบต่อพัฒนาการและสุขภาพโดยรวมของเด็ก การระบาดของโรคมือเท้าปากอาจต้องปิดศูนย์ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลผู้ปกครองต้องหยุดงานเพื่อดูแลเด็กที่บ้านทำให้ขาดรายได้จากประวัติการเกิดโรคมือเท้าปากศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะยวนเคยประสบกับปัญหาโรคมือเท้าปากอย่างต่อเนื่องตรวจพบการระบาดในปีการศึกษา 2558 จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 13 ของจำนวนเด็ก 40 คนปีการศึกษา 2560 มีการตรวจพบการระบาดแต่มีการป้องกันจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านบางตาลก่อนจะมีการระบาดหนักเกินกว่าจะแก้ไขทัน
จากเหตุผลดังกล่าวศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะยวนจึงได้จัดทำโครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค ประจำปีงบประมาณ 2561 เพื่อให้ความสำคัญกับการดำเนินงานด้านการเฝ้าระวังการป้องกันและควบคุมโรคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้มีประสิทธิภาพซึ่งนอกจากจะช่วยลดการเกิดโรคติดเชื้อเฉียบพลันในเด็กโรคมือเท้าปากโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันและโรคเหาแล้วยังเป็นการเตรียมความพร้อมรับมือกับการระบาดของโรคติดเชื้อซึ่งอาจจะเกิดขึ้นในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะยวน มีความปลอดภัยปราศจากโรคติดต่อ
  2. เพื่อส่งเสริมให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย
  3. เพื่อส่งเสริมการเฝ้าระวังตนเองบุคคลรอบข้างให้ปราศจากโรคติดต่อ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 20
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 35
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.ผู้เรียนของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะยวนมีความปลอดภัยปราศจากโรคติดต่อ ๒.ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อในเด็กปฐมวัยและร่วมกันควบคุมการเกิดโรคติดต่อภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๓. ผู้เรียนผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กรู้จักดูแลรักษาและเฝ้าระวังตนเองและบุคคลรอบข้างให้ปราศจากโรคติดต่อ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะยวน มีความปลอดภัยปราศจากโรคติดต่อ
ตัวชี้วัด : ผู้เรียนของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจำนวน 20 คนมีความปลอดภัยปราศจากโรคติดต่อ
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 ของพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก บุคลากร มีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมการเฝ้าระวังตนเองบุคคลรอบข้างให้ปราศจากโรคติดต่อ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 ของพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก บุคลากรรู้จักเฝ้าระวังตนเองและบุคคลรอบข้างปราศจากโรคติดต่อ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 55
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 20
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน 35
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะยวน  มีความปลอดภัยปราศจากโรคติดต่อ (2) เพื่อส่งเสริมให้พ่อแม่  ผู้ปกครอง  ครูผู้ดูแลเด็ก  บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย (3) เพื่อส่งเสริมการเฝ้าระวังตนเองบุคคลรอบข้างให้ปราศจากโรคติดต่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้เรื่องโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-L3333-03-14

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางมาริสา เส็มหมัด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด