การป้องกันโรคฟันผุในเด็กปฐมวัยเทศบาลนครหาดใหญ่ โดยใช้นมอัดเม็ดผสมโพรไบโอติก
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ การป้องกันโรคฟันผุในเด็กปฐมวัยเทศบาลนครหาดใหญ่ โดยใช้นมอัดเม็ดผสมโพรไบโอติก ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายสันติ ตุคะเวทย์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่
กันยายน 2562
ชื่อโครงการ การป้องกันโรคฟันผุในเด็กปฐมวัยเทศบาลนครหาดใหญ่ โดยใช้นมอัดเม็ดผสมโพรไบโอติก
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L7258-1-15 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2562 ถึง 15 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"การป้องกันโรคฟันผุในเด็กปฐมวัยเทศบาลนครหาดใหญ่ โดยใช้นมอัดเม็ดผสมโพรไบโอติก จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การป้องกันโรคฟันผุในเด็กปฐมวัยเทศบาลนครหาดใหญ่ โดยใช้นมอัดเม็ดผสมโพรไบโอติก
บทคัดย่อ
โครงการ " การป้องกันโรคฟันผุในเด็กปฐมวัยเทศบาลนครหาดใหญ่ โดยใช้นมอัดเม็ดผสมโพรไบโอติก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7258-1-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2562 - 15 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 329,252.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
ฝ่ายทันตสาธารณสุข ส่วนบริการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมสำนักงานเทศบาลนครหาดใหญ่ ได้จัดให้มีการบริการทันตกรรม และส่งเสริมป้องกันให้ความรู้ด้านทันตสุขภาพ แก่ เด็กนักเรียน และประชาชนทั่วไป ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ซึ่งได้มีการตั้งคลินิกทันตกรรมเพื่อให้บริการและส่งเสริมป้องกันด้านทันตสุขภาพ ๒ แห่งคือ ศูนย์บริการสาธารณสุขเพชรเกษม และศูนย์บริการสาธารณสุขสามชัย สังกัดเทศบาลนครหาดใหญ่ มีหน้าที่ให้บริการงานทันตกรรมทั่วไป ได้แก่ ขูดหินปูน อุดฟัน และถอนฟัน งานส่งเสริมป้องกัน ได้แก่ การเคลือบฟลูออไรด์ และเคลือบหลุมร่องฟัน เพื่อป้องกันฟันผุ รวมทั้งให้บริการงานทันตกรรมเฉพาะทาง ได้แก่ การรักษาคลองรากฟัน การผ่าตัดฟันคุด/ฟันฝัง ทันตกรรมจัดฟันเบื้องต้น และงานฟันเทียมทั้งแบบถอดได้และติดแน่น โดยให้บริการผู้ป่วยจำนวน ๕,๑๙๒ ราย (เฉลี่ยวันละ ๒๖ ราย) ในปีงบประมาณ ๒๕๖๑
จากการที่ศูนย์บริการทั้งสองศูนย์ได้ลงพื้นที่ในการตรวจสุขภาพช่องปากเด็กวัยเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ ในโรงเรียนเทศบาล ๑-๖ จำนวน ๓,๗๓๓ ราย พบว่าเด็กประถมศึกษาตั้งแต่ชั้นปีที่ ๑ (๕-๖ปี) มีค่าปราศจากโรคฟันผุเพียงร้อยละ ๒๑.๖ ซึ่งค่าปราศจากโรคฟันผุในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่กำหนดอยู่ที่ ๓๑.๔ จะเห็นได้ว่าค่าปราศจากโรคฟันผุในเด็กประถมมีค่าน้อยกว่าที่ควรจะเป็น แสดงให้เห็นว่าเด็กนักเรียนมีฟันผุเริ่มต้นตั้งแต่ก่อนวัยเรียนและวัยอนุบาลลุกลามมาจนถึงวัยประถม ทั้งนี้การไม่ได้รับการการส่งเสริมป้องกันฟันผุอย่างถูกวิธีตั้งแต่เริ่มต้น ซึ่งส่งผลให้โรคฟันผุเกิดการลุกลามทั้งขนาดเล็กที่ยังสามารถบูรณะได้ ไปจนถึงฟันผุลุกลามขนาดใหญ่ ที่ต้องได้รับการถอนฟันออกทั้งในน้ำนมและฟันกรามแท้ซี่แรก
ดังนั้น ฝ่ายทันตสาธารณสุข ส่วนบริการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมสำนักงานเทศบาลนครหาดใหญ่ จึงได้ตระหนักว่าปัญหาฟันผุในเด็กเล็กก่อนวัยเรียนและวัยอนุบาลเป็นปัญหาเร่งด่วนที่ควรได้รับการป้องกันและแก้ไขก่อน โดยการใช้สารเคลือบฟลูออไรด์ความเข้มข้นสูงชนิดทาเพื่อเสริมความแข็งแรงของเคลือบฟัน ร่วมกับการใช้นมอัดเม็ดผสมโพรไบโอติกเพื่อทำลายเชื้อที่ก่อให้เกิดโรคฟันผุ นมอัดเม็ดโพรไบโอติก เป็นนวัตกรรมใหม่เพื่อใช้ในการป้องกันโรคฟันผุซึ่งเป็นผลงานวิจัยของ ศ.ดร. รวี เถียรไพศาล และ ผศ.ดร.ทพญ. สุพัชรินทร์ พิวัฒน์ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ซึ่งมีผลงานวิจัยในระดับนานาชาติที่รองรับได้ถึงผลในการป้องกันโรคฟันผุ เช่น
๑. วารสาร Clin Oral Invest (๒๐๑๔) ๑๘:๘๕๗-๘๖๒ ซึ่งเชื้อโพรไบโอติกชนิด Lactobacillius paracasei SD1 สามารถลดเชื้อที่ทำให้เกิดโรคฟันผุ (mutans streptococci) ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมให้ความรู้ด้าน โพรไบโอติกและการดูแลทันตสุขภาพแก่เจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสาธารณสุขในโรงเรียน / ครูอนามัยและ ครูประจำชั้นหรือผู้แทนครูในแต่ละชั้นปี ข้อที่ 2 เด็กปฐมวัยและได้รับนมอัดเม็ดผสม โพรไบโอติกตามปริมาณและขนาดที่เหมาะสมต่อวันเป็นเวลา 3 เดือน ข้อที่ 3 ติดตามการลดลงของฟันผุ โดยการตรวจ๓ครั้งก่อน ระหว่างและหลังการได้รับนมอัดเม็ด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ด้านโพรไบติกแก่ทัตบุคลากร เจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสาธาณสุข
- กิจกรรมส่งเสริมป้องกันด้วยนมอัดเม็ดโพรไบโอติกและการประเมินประสิทธิผลในการป้องกันฟันผุ
- กิจกรรมประชาสัมพันธ์
- กิจกรรมสรุปผลการดำเนินการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. เด็กปฐมวัยในโรงเรียนเทศบาล ๒-๖ มีสุขภาพช่องปากดีขึ้น
๒. ครูประจำชั้นและครูอนามัยมีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและสามารถถ่ายทอดไปสู่นักเรียนได้ดี
ยิ่งขึ้น
๓. ผู้ปกครองมีความพึงพอใจและอยากให้มีโครงการนี้ขึ้นอีก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ด้านโพรไบติกแก่ทัตบุคลากร เจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสาธาณสุข
วันที่ 1 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำ
เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และรู้วิธีป้องกันฝันผุ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ให้นักเรียนได้เรียนรู้และรู้จักเรียนรู้รักษาฟันอย่างถูกวิธี
60
0
2. กิจกรรมส่งเสริมป้องกันด้วยนมอัดเม็ดโพรไบโอติกและการประเมินประสิทธิผลในการป้องกันฟันผุ
วันที่ 1 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำ
เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และรู้วิธีป้องกันฝันผุ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ให้นักเรียนได้เรียนรู้และรูจักเรียนรู้รักษาฟันอย่างถูกวิธี
0
0
3. กิจกรรมสรุปผลการดำเนินการ
วันที่ 1 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำ
เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และรู้วิธีป้องกันฝันผุ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ให้นักเรียนได้เรียนรู้และรูจักเรียนรู้รักษาฟันอย่างถูกวิธี
0
0
4. กิจกรรมประชาสัมพันธ์
วันที่ 22 ธันวาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และรู้วิธีป้องกันฝันผุ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ให้นักเรียนได้เรียนรู้และรูจักเรียนรู้รักษาฟันอย่างถูกวิธี
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมให้ความรู้ด้าน โพรไบโอติกและการดูแลทันตสุขภาพแก่เจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสาธารณสุขในโรงเรียน / ครูอนามัยและ ครูประจำชั้นหรือผู้แทนครูในแต่ละชั้นปี ข้อที่ 2 เด็กปฐมวัยและได้รับนมอัดเม็ดผสม โพรไบโอติกตามปริมาณและขนาดที่เหมาะสมต่อวันเป็นเวลา 3 เดือน ข้อที่ 3 ติดตามการลดลงของฟันผุ โดยการตรวจ๓ครั้งก่อน ระหว่างและหลังการได้รับนมอัดเม็ด
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ
ร้อยละ ๘๐ ของเจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสาธารณสุขในโรงเรียน / ครูอนามัยและครูประจำชั้นหรือผู้แทนครู
ในแต่ละชั้นปีได้รับการอบรมให้ความรู้ด้านโพรไบโอติกและการดูแลทันตสุขภาพซึ่งสามารถถ่ายทอดไปสู่เด็กปฐมวัยและผู้ปกครองได้
ร้อยละ ๘๐ ของเด็กปฐมวัยและเด็กนักเรียนประถมศึกษาได้รับนมอัดเม็ดโพรไบโอติกตามปริมาณและขนาดที่เหมาะสมต่อวันเป็นเวลา 3 เดือน
ร้อยละของการปราศจากโรคฟันผุลดลง ไม่เกินร้อยละ ๑๐
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมให้ความรู้ด้าน โพรไบโอติกและการดูแลทันตสุขภาพแก่เจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสาธารณสุขในโรงเรียน / ครูอนามัยและ ครูประจำชั้นหรือผู้แทนครูในแต่ละชั้นปี ข้อที่ 2 เด็กปฐมวัยและได้รับนมอัดเม็ดผสม โพรไบโอติกตามปริมาณและขนาดที่เหมาะสมต่อวันเป็นเวลา 3 เดือน ข้อที่ 3 ติดตามการลดลงของฟันผุ โดยการตรวจ๓ครั้งก่อน ระหว่างและหลังการได้รับนมอัดเม็ด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ด้านโพรไบติกแก่ทัตบุคลากร เจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสาธาณสุข (2) กิจกรรมส่งเสริมป้องกันด้วยนมอัดเม็ดโพรไบโอติกและการประเมินประสิทธิผลในการป้องกันฟันผุ (3) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ (4) กิจกรรมสรุปผลการดำเนินการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
การป้องกันโรคฟันผุในเด็กปฐมวัยเทศบาลนครหาดใหญ่ โดยใช้นมอัดเม็ดผสมโพรไบโอติก จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L7258-1-15
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสันติ ตุคะเวทย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ การป้องกันโรคฟันผุในเด็กปฐมวัยเทศบาลนครหาดใหญ่ โดยใช้นมอัดเม็ดผสมโพรไบโอติก ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายสันติ ตุคะเวทย์
กันยายน 2562
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L7258-1-15 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2562 ถึง 15 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"การป้องกันโรคฟันผุในเด็กปฐมวัยเทศบาลนครหาดใหญ่ โดยใช้นมอัดเม็ดผสมโพรไบโอติก จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การป้องกันโรคฟันผุในเด็กปฐมวัยเทศบาลนครหาดใหญ่ โดยใช้นมอัดเม็ดผสมโพรไบโอติก
บทคัดย่อ
โครงการ " การป้องกันโรคฟันผุในเด็กปฐมวัยเทศบาลนครหาดใหญ่ โดยใช้นมอัดเม็ดผสมโพรไบโอติก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7258-1-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2562 - 15 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 329,252.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
ฝ่ายทันตสาธารณสุข ส่วนบริการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมสำนักงานเทศบาลนครหาดใหญ่ ได้จัดให้มีการบริการทันตกรรม และส่งเสริมป้องกันให้ความรู้ด้านทันตสุขภาพ แก่ เด็กนักเรียน และประชาชนทั่วไป ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ซึ่งได้มีการตั้งคลินิกทันตกรรมเพื่อให้บริการและส่งเสริมป้องกันด้านทันตสุขภาพ ๒ แห่งคือ ศูนย์บริการสาธารณสุขเพชรเกษม และศูนย์บริการสาธารณสุขสามชัย สังกัดเทศบาลนครหาดใหญ่ มีหน้าที่ให้บริการงานทันตกรรมทั่วไป ได้แก่ ขูดหินปูน อุดฟัน และถอนฟัน งานส่งเสริมป้องกัน ได้แก่ การเคลือบฟลูออไรด์ และเคลือบหลุมร่องฟัน เพื่อป้องกันฟันผุ รวมทั้งให้บริการงานทันตกรรมเฉพาะทาง ได้แก่ การรักษาคลองรากฟัน การผ่าตัดฟันคุด/ฟันฝัง ทันตกรรมจัดฟันเบื้องต้น และงานฟันเทียมทั้งแบบถอดได้และติดแน่น โดยให้บริการผู้ป่วยจำนวน ๕,๑๙๒ ราย (เฉลี่ยวันละ ๒๖ ราย) ในปีงบประมาณ ๒๕๖๑
จากการที่ศูนย์บริการทั้งสองศูนย์ได้ลงพื้นที่ในการตรวจสุขภาพช่องปากเด็กวัยเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ ในโรงเรียนเทศบาล ๑-๖ จำนวน ๓,๗๓๓ ราย พบว่าเด็กประถมศึกษาตั้งแต่ชั้นปีที่ ๑ (๕-๖ปี) มีค่าปราศจากโรคฟันผุเพียงร้อยละ ๒๑.๖ ซึ่งค่าปราศจากโรคฟันผุในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่กำหนดอยู่ที่ ๓๑.๔ จะเห็นได้ว่าค่าปราศจากโรคฟันผุในเด็กประถมมีค่าน้อยกว่าที่ควรจะเป็น แสดงให้เห็นว่าเด็กนักเรียนมีฟันผุเริ่มต้นตั้งแต่ก่อนวัยเรียนและวัยอนุบาลลุกลามมาจนถึงวัยประถม ทั้งนี้การไม่ได้รับการการส่งเสริมป้องกันฟันผุอย่างถูกวิธีตั้งแต่เริ่มต้น ซึ่งส่งผลให้โรคฟันผุเกิดการลุกลามทั้งขนาดเล็กที่ยังสามารถบูรณะได้ ไปจนถึงฟันผุลุกลามขนาดใหญ่ ที่ต้องได้รับการถอนฟันออกทั้งในน้ำนมและฟันกรามแท้ซี่แรก
ดังนั้น ฝ่ายทันตสาธารณสุข ส่วนบริการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมสำนักงานเทศบาลนครหาดใหญ่ จึงได้ตระหนักว่าปัญหาฟันผุในเด็กเล็กก่อนวัยเรียนและวัยอนุบาลเป็นปัญหาเร่งด่วนที่ควรได้รับการป้องกันและแก้ไขก่อน โดยการใช้สารเคลือบฟลูออไรด์ความเข้มข้นสูงชนิดทาเพื่อเสริมความแข็งแรงของเคลือบฟัน ร่วมกับการใช้นมอัดเม็ดผสมโพรไบโอติกเพื่อทำลายเชื้อที่ก่อให้เกิดโรคฟันผุ นมอัดเม็ดโพรไบโอติก เป็นนวัตกรรมใหม่เพื่อใช้ในการป้องกันโรคฟันผุซึ่งเป็นผลงานวิจัยของ ศ.ดร. รวี เถียรไพศาล และ ผศ.ดร.ทพญ. สุพัชรินทร์ พิวัฒน์ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ซึ่งมีผลงานวิจัยในระดับนานาชาติที่รองรับได้ถึงผลในการป้องกันโรคฟันผุ เช่น
๑. วารสาร Clin Oral Invest (๒๐๑๔) ๑๘:๘๕๗-๘๖๒ ซึ่งเชื้อโพรไบโอติกชนิด Lactobacillius paracasei SD1 สามารถลดเชื้อที่ทำให้เกิดโรคฟันผุ (mutans streptococci) ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมให้ความรู้ด้าน โพรไบโอติกและการดูแลทันตสุขภาพแก่เจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสาธารณสุขในโรงเรียน / ครูอนามัยและ ครูประจำชั้นหรือผู้แทนครูในแต่ละชั้นปี ข้อที่ 2 เด็กปฐมวัยและได้รับนมอัดเม็ดผสม โพรไบโอติกตามปริมาณและขนาดที่เหมาะสมต่อวันเป็นเวลา 3 เดือน ข้อที่ 3 ติดตามการลดลงของฟันผุ โดยการตรวจ๓ครั้งก่อน ระหว่างและหลังการได้รับนมอัดเม็ด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ด้านโพรไบติกแก่ทัตบุคลากร เจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสาธาณสุข
- กิจกรรมส่งเสริมป้องกันด้วยนมอัดเม็ดโพรไบโอติกและการประเมินประสิทธิผลในการป้องกันฟันผุ
- กิจกรรมประชาสัมพันธ์
- กิจกรรมสรุปผลการดำเนินการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. เด็กปฐมวัยในโรงเรียนเทศบาล ๒-๖ มีสุขภาพช่องปากดีขึ้น ๒. ครูประจำชั้นและครูอนามัยมีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและสามารถถ่ายทอดไปสู่นักเรียนได้ดี ยิ่งขึ้น ๓. ผู้ปกครองมีความพึงพอใจและอยากให้มีโครงการนี้ขึ้นอีก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ด้านโพรไบติกแก่ทัตบุคลากร เจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสาธาณสุข |
||
วันที่ 1 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำเพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และรู้วิธีป้องกันฝันผุ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นให้นักเรียนได้เรียนรู้และรู้จักเรียนรู้รักษาฟันอย่างถูกวิธี
|
60 | 0 |
2. กิจกรรมส่งเสริมป้องกันด้วยนมอัดเม็ดโพรไบโอติกและการประเมินประสิทธิผลในการป้องกันฟันผุ |
||
วันที่ 1 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำเพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และรู้วิธีป้องกันฝันผุ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นให้นักเรียนได้เรียนรู้และรูจักเรียนรู้รักษาฟันอย่างถูกวิธี
|
0 | 0 |
3. กิจกรรมสรุปผลการดำเนินการ |
||
วันที่ 1 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำเพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และรู้วิธีป้องกันฝันผุ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นให้นักเรียนได้เรียนรู้และรูจักเรียนรู้รักษาฟันอย่างถูกวิธี
|
0 | 0 |
4. กิจกรรมประชาสัมพันธ์ |
||
วันที่ 22 ธันวาคม 2562กิจกรรมที่ทำเพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และรู้วิธีป้องกันฝันผุ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นให้นักเรียนได้เรียนรู้และรูจักเรียนรู้รักษาฟันอย่างถูกวิธี
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมให้ความรู้ด้าน โพรไบโอติกและการดูแลทันตสุขภาพแก่เจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสาธารณสุขในโรงเรียน / ครูอนามัยและ ครูประจำชั้นหรือผู้แทนครูในแต่ละชั้นปี ข้อที่ 2 เด็กปฐมวัยและได้รับนมอัดเม็ดผสม โพรไบโอติกตามปริมาณและขนาดที่เหมาะสมต่อวันเป็นเวลา 3 เดือน ข้อที่ 3 ติดตามการลดลงของฟันผุ โดยการตรวจ๓ครั้งก่อน ระหว่างและหลังการได้รับนมอัดเม็ด ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ ๘๐ ของเจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสาธารณสุขในโรงเรียน / ครูอนามัยและครูประจำชั้นหรือผู้แทนครู ในแต่ละชั้นปีได้รับการอบรมให้ความรู้ด้านโพรไบโอติกและการดูแลทันตสุขภาพซึ่งสามารถถ่ายทอดไปสู่เด็กปฐมวัยและผู้ปกครองได้ ร้อยละ ๘๐ ของเด็กปฐมวัยและเด็กนักเรียนประถมศึกษาได้รับนมอัดเม็ดโพรไบโอติกตามปริมาณและขนาดที่เหมาะสมต่อวันเป็นเวลา 3 เดือน ร้อยละของการปราศจากโรคฟันผุลดลง ไม่เกินร้อยละ ๑๐ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมให้ความรู้ด้าน โพรไบโอติกและการดูแลทันตสุขภาพแก่เจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสาธารณสุขในโรงเรียน / ครูอนามัยและ ครูประจำชั้นหรือผู้แทนครูในแต่ละชั้นปี ข้อที่ 2 เด็กปฐมวัยและได้รับนมอัดเม็ดผสม โพรไบโอติกตามปริมาณและขนาดที่เหมาะสมต่อวันเป็นเวลา 3 เดือน ข้อที่ 3 ติดตามการลดลงของฟันผุ โดยการตรวจ๓ครั้งก่อน ระหว่างและหลังการได้รับนมอัดเม็ด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ด้านโพรไบติกแก่ทัตบุคลากร เจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสาธาณสุข (2) กิจกรรมส่งเสริมป้องกันด้วยนมอัดเม็ดโพรไบโอติกและการประเมินประสิทธิผลในการป้องกันฟันผุ (3) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ (4) กิจกรรมสรุปผลการดำเนินการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
การป้องกันโรคฟันผุในเด็กปฐมวัยเทศบาลนครหาดใหญ่ โดยใช้นมอัดเม็ดผสมโพรไบโอติก จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L7258-1-15
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสันติ ตุคะเวทย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......