กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่


“ ป้องกันอันตรายจากสารห้ามใช้ในเครื่องสำอางค์ ”

ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางพรรณี อภิชาติพัฒนศิริ

ชื่อโครงการ ป้องกันอันตรายจากสารห้ามใช้ในเครื่องสำอางค์

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7258-1-13 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2562 ถึง 30 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"ป้องกันอันตรายจากสารห้ามใช้ในเครื่องสำอางค์ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ป้องกันอันตรายจากสารห้ามใช้ในเครื่องสำอางค์



บทคัดย่อ

โครงการ " ป้องกันอันตรายจากสารห้ามใช้ในเครื่องสำอางค์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7258-1-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2562 - 30 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 92,570.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการถ่ายโอนภารกิจจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ในปี ๒๕๔๙ ได้ถ่ายภารกิจงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยกำหนดกรอบภารกิจในการถ่ายโอน ๔ ด้าน ได้แก่ ๑. การผลิตสื่อและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ๒. การเสริมสร้างศักยภาพผู้บริโภคทั้งด้านความรู้ในการบริโภคและเรียกร้องสิทธิอันชอบธรรม ๓. การสร้างและขยายเครือข่ายการมีส่วนร่วมในงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ๔. การตรวจสอบฉลากและตรวจเฝ้าระวังคุณภาพผลิตภัณฑ์สุขภาพในท้องตลาด


ในสภาพปัจจุบันมีผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางหลายยี่ห้อที่นำมาวางจำหน่ายในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ซึ่งพบว่าเป็นเครื่องสำอางอันตรายและผิดกฎหมาย โดยผู้บริโภคอาจไม่ทราบถึงอันตรายที่จะเกิดขึ้นจากการใช้เครื่องสำอางที่มีสารห้ามใช้ แม้ว่าการดูดซึมผ่านทางผิวหนังจะไม่มีผลต่อสุขภาพมาก เหมือนการดูดซึมผ่านระบบทางเดินอาหาร แต่สามารถทำให้เกิดความเสี่ยงต่อสุขภาพได้ ทั้งระยะเฉียบพลันและระยะยาว โดยสารไฮโดรควิโนนทำให้เกิดการระคายเคือง จุดด่างขาวที่ผิวหน้า ผิวหน้าดำ เป็นฝ้าถาวร รักษาไม่หาย ส่วนกรดเรทิโนอิกทำให้เกิดการระคายเคืองอย่างรุนแรงเป็นสารที่ช่วยในการแบ่งเซลล์และหลุดลอก เมื่อใช้ร่วมกับสารไฮโดรควิโนนจะช่วยให้สารไฮโดรควิโนนซึมเข้าสู่ร่างกายและ ออกฤทธิ์ได้มากกว่าปกติ และถูกกำหนดให้เป็นสารห้ามใช้ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๓๒ ส่วนสารปรอทแอมโมเนีย มีฤทธิ์รบกวนการทำงานของเอนไซม์ Tyrosinase ในการสร้างเมลานิลและฆ่าเชื้อแบคทีเรีย      ชนิด Staphylococcus aureus (สเตรปฟีโลคอคคัส ออเรียส) สามารถป้องกันสิวได้ แต่การใช้สารปรอทแอมโมเนียติดต่อกันเป็นเวลานานจะทำให้เกิดพิษสะสมในไต ทำให้ไตอักเสบส่งผลให้เป็นไตเรื้อรัง หรือไตวายได้ ซึ่งเครื่องสำอางเหล่านี้มักโฆษณาผ่านสื่อรูปแบบต่าง ๆ เพื่ออวดอ้างสรรพคุณสามารถลดการเกิดสิว ฝ้า ทำให้หน้าขาว ผู้บริโภคโดยเฉพาะกลุ่มวัยรุ่นจึงหลงผิดซื้อมาใช้ทำให้ได้รับสารอันตรายเข้าร่างกาย และบางรายมีอาการแพ้เครื่องสำอาง ส่งผลให้สูญเสียเงินในการรักษาและซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางตัวใหม่ จึงจำเป็นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ ควรจะมีการให้ความรู้แก่ผู้บริโภคและตรวจเฝ้าระวังสารห้ามใช้ในเครื่องสำอาง เพื่อเป็นข้อมูลข่าวในการเลือกซื้อเครื่องสำอางที่ปลอดภัย ลดปัญหาการหลอกลวงผู้บริโภคและลดการจำหน่ายเครื่องสำอางที่มีสารอันตรายในพื้นที่ลง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อรณรงค์ให้นักเรียนกลุ่มวัยรุ่น และประชาชนมีความรู้/ตระหนักถึงอันตรายของการใช้เครื่องสำอางที่มีสารห้ามใช้ ตลอดจนมีความสามารถเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางได้อย่างปลอดภัย
  2. 2 เพื่อลดการจำหน่ายเครื่องสำอางผสมสารห้ามใช้ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้แก่นักเรียน กลุ่มวัยรุ่น และผู้ประกอบการ จำนวน 2รุ่นๆ
  2. ให้ความรู้พร้อมตรวจหาสารห้ามใช้ในเครื่องสำอางแก่ประชาชนในชุมชนและตลาดสด
  3. จัดซื้อชุดทดสอบสารห้ามใช้ในเครื่งสำอาง
  4. กิจกรรมประชาสัมพันธ์
  5. สรุปผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนกลุ่มวัยรุ่นและประชาชนมีความรู้ในการเลือกซื้อเครื่องสำอางที่ปลอดภัยได้ ๒. การจำหน่ายเครื่องสำอางผสมสารห้ามใช้ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ลดน้อยลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ให้ความรู้พร้อมตรวจหาสารห้ามใช้ในเครื่องสำอางแก่ประชาชนในชุมชนและตลาดสด

วันที่ 1 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

นักเรียนและประชาชนได้รับความรู้การเลื่อกซื้อเครื่องสำอาง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เครื่องสำอางที่มีสารผสมต้องห้ามใช้ในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่

 

0 0

2. กิจกรรมให้ความรู้แก่นักเรียน กลุ่มวัยรุ่น และผู้ประกอบการ จำนวน 2รุ่นๆ

วันที่ 1 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

นักเรียนและประชาชนได้รับความรู้การเลื่อกซื้อเครื่องสำอาง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เครื่องสำอางที่มีสารผสมต้องห้ามใช้ในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่

 

0 0

3. จัดซื้อชุดทดสอบสารห้ามใช้ในเครื่งสำอาง

วันที่ 1 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

นักเรียนและประชาชนได้รับความรู้การเลื่อกซื้อเครื่องสำอาง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เครื่องสำอางที่มีสารผสมต้องห้ามใช้ในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่

 

0 0

4. กิจกรรมประชาสัมพันธ์

วันที่ 1 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

นักเรียนและประชาชนได้รับความรู้การเลื่อกซื้อเครื่องสำอาง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เครื่องสำอางที่มีสารผสมต้องห้ามใช้ในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่

 

0 0

5. สรุปผลการดำเนินงาน

วันที่ 17 ธันวาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

นักเรียนและประชาชนได้รับความรู้การเลื่อกซื้อเครื่องสำอาง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เครื่องสำอางที่มีสารผสมต้องห้ามใช้ในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อรณรงค์ให้นักเรียนกลุ่มวัยรุ่น และประชาชนมีความรู้/ตระหนักถึงอันตรายของการใช้เครื่องสำอางที่มีสารห้ามใช้ ตลอดจนมีความสามารถเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางได้อย่างปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ นักเรียน ประชาชน มีความรู้ถึงอันตรายของการใช้เครื่องสำอางที่มีสารห้ามใช้ ตลอดจนมีความสามารถเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางได้อย่างปลอดภัย
0.00

 

2 2 เพื่อลดการจำหน่ายเครื่องสำอางผสมสารห้ามใช้ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่
ตัวชี้วัด : อัตราการจำหน่ายเครื่องสำอางผสมสารห้ามใช้ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ลดลง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อรณรงค์ให้นักเรียนกลุ่มวัยรุ่น และประชาชนมีความรู้/ตระหนักถึงอันตรายของการใช้เครื่องสำอางที่มีสารห้ามใช้ ตลอดจนมีความสามารถเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางได้อย่างปลอดภัย (2) 2  เพื่อลดการจำหน่ายเครื่องสำอางผสมสารห้ามใช้ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้แก่นักเรียน กลุ่มวัยรุ่น และผู้ประกอบการ จำนวน 2รุ่นๆ (2) ให้ความรู้พร้อมตรวจหาสารห้ามใช้ในเครื่องสำอางแก่ประชาชนในชุมชนและตลาดสด (3) จัดซื้อชุดทดสอบสารห้ามใช้ในเครื่งสำอาง (4) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ (5) สรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ป้องกันอันตรายจากสารห้ามใช้ในเครื่องสำอางค์ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7258-1-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางพรรณี อภิชาติพัฒนศิริ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด