กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ควบคุมป้องกันโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะ ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางจุลจิรา ธีรชิตกุล




ชื่อโครงการ ควบคุมป้องกันโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะ

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7258-01-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562

กิตติกรรมประกาศ

"ควบคุมป้องกันโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ควบคุมป้องกันโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะ



บทคัดย่อ

โครงการ " ควบคุมป้องกันโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7258-01-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 781,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ยุงลายเป็นสัตว์พาหะนำโรคที่สำคัญ เพราะสามารถทำให้เกิดโรคในมนุษย์ได้ถึง ๓ โรค คือ ไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคติดเชื้อไวรัสซิกา ดังนั้นการกำจัดยุงลาย จึงเป็นมาตรการควบคุมและป้องกันโรคที่สำคัญ         สถานการณ์ไข้เลือดออกในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ข้อมูลย้อนหลัง ๕ ปี พบว่า ข้อมูลตั้งแต่
๑ ม.ค. - ๓๑ ธ.ค. ๒๕๕๗ พบผู้ป่วยไข้เลือดออก ๓๔๗ ราย ไม่มีผู้เสียชีวิต ข้อมูล ๑ ม.ค. - ๓๑ ธ.ค. ๒๕๕๘ พบผู้ป่วยจำนวน ๒๙๒ ราย ไม่มีผู้เสียชีวิต ข้อมูล ๑ ม.ค. - ๓๑ ธ.ค. ๒๕๕๙ พบผู้ป่วย ๕๕๓ ราย มีผู้เสียชีวิต ๒ ราย ข้อมูล ๑ ม.ค. - ๓๑ ธ.ค. ๒๕๖๐ พบผู้ป่วย ๓๔๓ ราย มีผู้เสียชีวิต ๑ ราย จำนวนผู้ป่วยลดลงจากปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ไม่มีผู้เสียชีวิต และข้อมูล ๑ ม.ค. – ๓๑ ธ.ค. ๒๕๖๑ พบผู้ป่วย ๑๓๑ ราย ไม่มีผู้เสียชีวิต จากผลการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกดีขึ้นเป็นลำดับ เทศบาลนครหาดใหญ่จึงได้รับการคัดเลือกเข้ารับรางวัลการบริหารจัดการโรคไข้เลือดออกดีเด่น จากกรมควบคุมโรค เมื่อวันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๖๑

        ปัญหาพื้นฐาน และเป็นสาเหตุสำคัญในการเกิดปัญหาการระบาดของโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะ เกิดจากสภาวะสิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัย ซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งที่ต้องควบคุม รวมทั้งปัญหาการกำจัดขยะมูลฝอย แหล่งเพาะพันธุ์โรค การเฝ้าระวัง สำรวจ กำจัดลูกน้ำอย่างเนื่อง ต้องมีการบูรณาการ การทำงานเชิงรุกจากทุกภาคส่วนในชุมชนหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานร่วมกัน
ในส่วนของสถานการณ์โรคชิคุนกุนยา ซึ่งทิ้งช่วงการระบาดมานานเกือบ ๑๐ ปี พบการระบาดครั้งล่าสุดในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๒ หลังจากนั้นไม่พบรายงานผู้ป่วยโรคชิคุนกุนยา จนกระทั่งปลายเดือนกรกฎาคม ๒๕๖๑ พบผู้ป่วยชิคุนกุนยารายแรกจึงได้มีการเฝ้าระวังสถานการณ์ และวางแผนการปฏิบัติงานป้องกันและควบคุมโรค และได้พบการระบาดของโรคในเดือนตุลาคม ๒๕๖๑ ซึ่งมีรายงานผู้ป่วยโรคชิคุนกุนยา จากศูนย์ระบาดวิทยาโรงพยาบาลหาดใหญ่ทั้งสิ้น ๘๘๑ ราย ส่วนสถานการณ์ของโรคไวรัสซิกาไม่พบรายงานผู้ป่วยในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ แม้ว่าโรคชิคุนกุนยา และโรคติดเชื้อไวรัสซิกา เป็นโรคที่นำโดยยุงลายเป็นพาหะ ไม่รุนแรงถึงขั้นทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิต เหมือนไข้เลือดออก แต่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพทำให้ผู้ป่วยมีความทุกข์ทรมานไม่สามารถประกอบกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติ โดยเฉพาะโรคชิคุนกุนยา มีระยะฟักตัวสั้น และระบาดอย่างรวดเร็ว ผู้ป่วยที่หายจากอาการไข้ บางคนจะมีอาการปวดในข้อและกระดูกเรื้อรังได้นานเป็นปี ดังนั้นการดูแลให้ประชาชน ปลอดภัยจาก ๓ โรค ที่มียุงลายเป็นพาหะดังกล่าวข้างต้น เป็นภารกิจสำคัญที่ต้องดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ และมีความสำคัญที่ต้องดำเนินงานอย่างเคร่งครัดภายใต้มาตรการในการกำจัดยุงลาย ทั้งการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ การกำจัดยุงลายตัวเต็มวัย การประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ เพื่อให้ประชาชนปลอดภัย ปลอดโรคจากยุงลายเป็นพาหะ

ทั้งนี้งบประมาณในการจัดซื้อเคมีภัณฑ์ในการกำจัดยุง ใช้กรณีงบประจำที่ตั้งไว้ไม่เพียงพอในการดำเนินงาน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อจัดกิจกรรมเสริมสร้างความรู้ เป็นแนวทางให้ ชุมชนใช้เป็นทางเลือกในการกำจัดและลดแหล่ง เพาะพันธุ์ยุงลาย ตามบริบทของชุมชน ๒. เพื่อให้เกิดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งด้านประสบการณ์ และวิชาการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะ
  2. กิจกรรมเดินรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน
  3. กิจกรรมสื่อสารและประชาสัมพันธ์
  4. กิจกรรมบ้านนี้ปลอดลูกน้ำยุงลาย
  5. งบประมาณในการจัดซื้อเคมีภัณฑ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. อัตราการเกิดโรคที่มียุงลายเป็นพาหะลดลงเปรียบเทียบก่อน และหลังดำเนินโครงการ         ๒. เกิดกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน มีการพึ่งตนเองเกิดเป็นชุมชนจัดการสุขภาพ ๓. ประชาชนเกิดความตระหนัก และสร้างความร่วมมือในชุมชนตลอดจนมีความรู้
และพฤติกรรมในการเฝ้าระวัง และป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ ๔. เกิดนวัตกรรมของชุมชนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรค ๕. เกิดเครือข่ายป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ ๖. สร้างความรับผิดชอบและตระหนักในการควบคุมป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะในโรงเรียน ๗. เกิดชุมชนต้นแบบในการป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ และขยายผลไปสู่ชุมชนอื่นต่อไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะ

วันที่ 15 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

08.00 น. - 09.00 น. ลงทะเบียน/รับเอกสาร 09.00 น. - 09.30 น. พิธีเปิดและกล่าวให้โอวาทโดยนายกเทศมนตรีนครหาดใหญ่ 09.30 น. - 10.30 น. ความรู้ทั่วไป เรื่องโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะ
                        โดยวิทยากรจากสำนักงานควบคุมโรคที่ 12 สงขลา 10.30 น. - 10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.45 น. - 12.00 น. สถานการณ์โรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะ  การเฝ้าระวังป้องกัน                         และควบคุมโรค                         โดยวิทยากรจากสำนักงานควบคุมโรคที่ 12 สงขลา 12.00 น. - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 น. - 14.00 น. ชมบูธการจัดแสดง เรื่องวงจรชีวิตของยุงลาย                         แบ่งกลุ่มทำกิจกรรมตามหัวข้อที่กำหนดให้
                        โดยวิทยากรจากสำนักงานควบคุมโรคที่ 12 สงขลา 14.00 น. - 14.15 น. นำเสนอผลสรุปจากการทำกิจกรรมกลุ่ม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-  ประชาชนเกิดความตระหนัก และสร้างความร่วมมือในชุมชนตลอดจนมีความรู้และพฤติกรรม
  ในการเฝ้าระวัง และป้องกันโรคที่มียุงลาย
-  เกิดนวัตกรรมของชุมชนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรค

 

400 0

2. กิจกรรมเดินรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน

วันที่ 1 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

เดินรณรงค์ในชุมชนเขตเทศบาลนครหาดใหญ่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อัตราการเกิดโรคที่มียุงลายเป็นพาหะลดลงเปรียบเทียบก่อน และหลังดำเนินโครงการ

 

0 0

3. กิจกรรมบ้านนี้ปลอดลูกน้ำยุงลาย

วันที่ 20 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำสติ๊กเกอร์บ้านนี้ปลอดลูกน้ำยุงลาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดชุมชนต้นแบบในการป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ และขยายผลไปสู่ชุมชนอื่นต่อไป

 

0 0

4. กิจกรรมสื่อสารและประชาสัมพันธ์

วันที่ 20 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดจ้างทำสื่อประชาสัมพันธ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ป้ายสติ๊กเกอร์พร้อมด้ามจับ

 

0 0

5. งบประมาณในการจัดซื้อเคมีภัณฑ์

วันที่ 24 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อเคมีภัณฑ์ในการทำกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑.  ค่าเคมีภัณฑ์กำจัดยุงตัวเต็มวัย ๒.  ค่าสเปรย์กันยุง
๓.  ค่าโลชั่นทากันยุง ๔.  ค่าทรายกำจัดลูกน้ำ
๕.  ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการจัดทำสเปรย์หอมกันยุง
๖.  สติ๊กเกอร์สำหรับติดบรรจุภัณฑ์สมุนไพรไล่ยุง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อจัดกิจกรรมเสริมสร้างความรู้ เป็นแนวทางให้ ชุมชนใช้เป็นทางเลือกในการกำจัดและลดแหล่ง เพาะพันธุ์ยุงลาย ตามบริบทของชุมชน ๒. เพื่อให้เกิดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งด้านประสบการณ์ และวิชาการ
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ ๑. กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ ๑๐๐ ๒. กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำกิจกรรมไป ดำเนินการต่อเนื่องในชุมชน ร้อยละ ๖๐ ๓. บ้านเรือนประชาชนที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยงโรคไข้เลือดออก เป็นบ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย คัดเลือกชุมชนละ ๓๐ หลังคาเรือน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านประสบการณ์ และวิชาการที่ประชาชนสามารถแสดงความคิดเห็นและซักถามปัญหา เพื่อให้เกิดความรู้และแนวทางปฏิบัติที่ถูกต้อง เช่น ไลน์ เฟสบุ๊ค ผ่านการจัดรายการวิทยุคลื่น FM ๙๖.๐ ทางโทรศัพท์ เวบไซด์ของเทศบาล
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ ๑.  เพื่อจัดกิจกรรมเสริมสร้างความรู้ เป็นแนวทางให้        ชุมชนใช้เป็นทางเลือกในการกำจัดและลดแหล่ง          เพาะพันธุ์ยุงลาย ตามบริบทของชุมชน  ๒.  เพื่อให้เกิดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งด้านประสบการณ์      และวิชาการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะ (2) กิจกรรมเดินรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน (3) กิจกรรมสื่อสารและประชาสัมพันธ์ (4) กิจกรรมบ้านนี้ปลอดลูกน้ำยุงลาย (5) งบประมาณในการจัดซื้อเคมีภัณฑ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ควบคุมป้องกันโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7258-01-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจุลจิรา ธีรชิตกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด