กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม


“ โครงการพัฒนาภาคีเครือข่ายในคลินิกโรคเรื้อรังเบาหวานและความดันโลหิตสูง ”

ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายธนิต มูสิกปาละ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาภาคีเครือข่ายในคลินิกโรคเรื้อรังเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ที่อยู่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2562-L3306-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤษภาคม 2562 ถึง 4 มิถุนายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาภาคีเครือข่ายในคลินิกโรคเรื้อรังเบาหวานและความดันโลหิตสูง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาภาคีเครือข่ายในคลินิกโรคเรื้อรังเบาหวานและความดันโลหิตสูง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาภาคีเครือข่ายในคลินิกโรคเรื้อรังเบาหวานและความดันโลหิตสูง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2562-L3306-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤษภาคม 2562 - 4 มิถุนายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันการดูแลสุขภาพประชาชนถือว่าเป็นหัวใจสำคัญของการการบริหารจัดการ ทำอย่างไรให้ประชาชนมีสุขภาพดี มีคุณภาพชีวิตที่ดี คือ ประชาชนอยู่ดีกินดี ไม่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังที่เกินเยียวยา สามารถดูแลและควบคุมโรคได้อย่างเหมาะสม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคูตระหนักถึงปัญหาสาธารณสุข ตลอดจนการดูแลสุขภาพของกลุ่มสูงอายุที่มักป่วยด้วยโรคเรื้อรังซึ่งต้องได้รับการดูแล และจัดการสุขภาพจากบุคคลในครอบครัว รวมไปถึงกลุ่มป่วยโรคเรื้อรังในวัยทำงานของพื้นที่ที่ต้องเร่งรีบในการทำงานเพื่อหาเลี้ยงชีพและบุคคลในครอบครัวซึ่งต้องรับการดูแลจัดการควบคุมโรคที่เหมาะสมมีคุณภาพ โดยรับบริการจากหน่วยปฐมภูมิที่มีคุณภาพมาตรฐานและต่อเนื่อง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคูร่วมกับภาคีเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุข ร่วมกันหาแนวทางการแก้ไขปัญหาเพื่อพัฒนาคลินิกตลอดจนรูปแบบการบริการไปพร้อมกันกับพัฒนาทีมสุขภาพของหน่วยบริการ และเพื่อพัฒนาคลินิกโรคเรื้อรังของหน่วยบริการร่วมกับพัฒนาในส่วนของภาคีเครือข่ายที่มีส่วนร่วมในคลินิก ซึ่งจะเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนในพื้นที่และกลุ่มที่มีรับบริการ จากผลการดำเนินงานคลินิกโรคเรื้อรัง การรักษาพยาบาลและการคัดกรองค้นหาผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคู ร่วมกับเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ พบว่ามีผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้นในทุกปี โดยเฉพาะในปี 2561 พบผู้ป่วยรายใหม่เบาหวาน จำนวน 10 คน ความดันโลหิตสูง จำนวน 19 คน ถึงแม้ว่ามีกลุ่มป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้นแต่จากผลการคัดกรองประจำปีย้อนหลังไป 3 ปี พบข้อมูลทางสถิติการคัดกรองเบาหวานประจำปีของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคูมีแนวโน้มการควบคุมโรคเบาหวานดีขึ้นจากเดิม โดยพบว่า ปี 2559 พบป่วยเบาหวานรายใหม่ร้อยละ 14.08 ปี 2560 พบร้อยละ 9.25 ปี 2561 พบร้อยละ 5.64
        ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคู ได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาภาคีเครือข่ายในคลินิกโรคเรื้อรังเบาหวานและความดันโลหิตสูงขึ้น เพื่อพัฒนาภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องมาร่วมช่วยกันพัฒนาและควบคุมโรคให้ได้คุณภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาทีมทำงานคลินิกโรคเรื้อรัง รพ.สต.บ้านคู และภาคีเครือข่ายที่มีส่วนร่วมการดำเนินงานในคลินิกขับเคลื่อนแนวทางในการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ของ รพ.สต. ให้มีเหมาะสมและมีคุณภาพ
  2. เพื่อสร้างการเข้าถึงบริการในด้านการรักษาและส่งเสริมสุขภาพของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และญาติในชุมชน
  3. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ผู้ป่วยและญาติในด้านการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพในการชะลอภาวะแทรกซ้อน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 250
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ได้รับการเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและควบคุมระดับความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์           2. ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และญาติ มีส่วนร่วมในด้านการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพ และมีความพึงพอใจต่อการให้บริการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลระดับปฐมภูมิ           3. กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง มีโอกาสตื่นตัวในการเฝ้าระวังตนเองต่อการเกิดโรคเรื้อรังมากขึ้นในชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้

วันที่ 20 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรุ้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 250 คน

 

250 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาทีมทำงานคลินิกโรคเรื้อรัง รพ.สต.บ้านคู และภาคีเครือข่ายที่มีส่วนร่วมการดำเนินงานในคลินิกขับเคลื่อนแนวทางในการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ของ รพ.สต. ให้มีเหมาะสมและมีคุณภาพ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อสร้างการเข้าถึงบริการในด้านการรักษาและส่งเสริมสุขภาพของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และญาติในชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ผู้ป่วยและญาติในด้านการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพในการชะลอภาวะแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 250
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 250
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาทีมทำงานคลินิกโรคเรื้อรัง รพ.สต.บ้านคู และภาคีเครือข่ายที่มีส่วนร่วมการดำเนินงานในคลินิกขับเคลื่อนแนวทางในการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ของ รพ.สต. ให้มีเหมาะสมและมีคุณภาพ (2) เพื่อสร้างการเข้าถึงบริการในด้านการรักษาและส่งเสริมสุขภาพของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และญาติในชุมชน (3) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ผู้ป่วยและญาติในด้านการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพในการชะลอภาวะแทรกซ้อน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาภาคีเครือข่ายในคลินิกโรคเรื้อรังเบาหวานและความดันโลหิตสูง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2562-L3306-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายธนิต มูสิกปาละ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด