กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ รณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก ในชุมชนเทศบาลเทพา
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอสม.เทศบาลตำบลเทพา
วันที่อนุมัติ 29 พฤษภาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2562 - 30 กันยายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2562
งบประมาณ 18,100.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางคาตุนา รามชัยเดช
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.82,100.94place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มิ.ย. 2562 30 ก.ย. 2562 18,100.00
รวมงบประมาณ 18,100.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ไข้เลือดออกเป็นโรคที่ เป็นปัญหาด้านสาธารณสุขของประเทศไทยและทั่วโลก เกิดจากยุงลายเป็นพาหะของโรค มักจะระบาดชุกชุมในช่วงฤดูฝน ซึ่งยุงลายชอบออกหากินในเวลากลางวันตามบ้านเรือน วัด โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สถานที่ราชการโดยชอบวางไข่ตามภาชนะที่มีน้ำขัง เช่น ยางรถยนต์ จานรองขาตู้กับข้าว เป็นต้น
        สถานการณ์โรคไข้เลือดออกของประเทศไทยในปีพ.ศ. 256 1 (ข้อมูลจากระบบรายงานการเฝ้าระวังโรค 506 งานระบาดวิทยา สสจ.สงขลา ณ วันที่ 30 กันยายน 2561) มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสะสมรวม 59,140 ราย อัตราป่วย 89.47 ต่อประชากรแสนคน ผู้ป่วยเสียชีวิต 74 ราย อัตรา โรคไข้เลือดออกของจังหวัดสงขลา 1,184 ราย อัตราป่วย 84.04 ต่อแสนประชากร ลำดับที่ 38 ของประเทศ การกระจายการเกิดโรคไข้เลือดออกตามกลุ่มอายุ ส่วนใหญ่พบในกลุ่มอายุ 0-14 ปี มีอัตราป่วยสูงสุด คืร้อยละ 56.08 สัดส่วนอาชีพที่พบผู้ป่วยสูงสุดคือ นักเรียน ร้อยละ 54.48 รองลงมาคือ รับจ้าง ร้อยละ 15.63)
        จากสถานการณ์ดังกล่าวอาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในเขตเทศบาลเทพา ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา ได้ตระหนักถึงปัญหาจึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกขึ้น โดยมุ่งเน้นกิจกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชน ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคไข้เลือดออก มีความรู้ด้านการควบคุมป้องกันและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย การใช้สารเคมีในการควบคุมโรคเมื่อเกิดโรคระบาด อันนำไปสู่การควบคุมและป้องกันโรค โดยชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน

แหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชนลดลง ร้อยละ 80

80.00
2 เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมในการป้องกันโรคไข้เลือดออก

บ้านในชุมชนเป็นบ้านปลอดลูกน้ำยุงลายร้อยละ 100

100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อลดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมในการป้องกันโรคไข้เลือดออก

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

1 มิ.ย. 62 - 30 ก.ย. 62 กิจกรรมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย 15,450.00 -
1 มิ.ย. 62 - 30 ก.ย. 62 กิจกรรมควบคุมโรคไข้เลือดออก 12,000.00 -
1 - 31 ก.ค. 62 กิจกรรม ติดป้าย “ชุมชนนี้ปลอดลูกน้ำยุงลาย” ชุมชนที่ปลอดลูกน้ำติดต่อกัน 2 เดือน 2,700.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

  1. ประชุม อสม.เพื่อวางแผนการดำเนินงาน
  2. จัดทำโครงการ ขออนุมัติการใช้งบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลเทพา
  3. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง     - เทศบาลเทพา

    • ผู้นำชุมชน อสม.
    • ประชาชนในเขตเทศบาลเทพา     - คลินิกเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน ศูนย์ 1 รพ.เทพา
  4. เตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมรณรงค์

  5. จัดกิจกรรมเดินรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน
  6. อสม.สำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน เดือนละ 1 ครั้ง และทุกสัปดาห์หากมีการเกิดโรคในละแวกบ้านนั้นๆ
  7. ติดป้ายไวนิล “ชุมชนนี้ปลอดลูกน้ำยุงลาย” ในชุมชนที่ไม่พบแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ติดต่อกัน 2 เดือน
  8. สรุปผลการดำเนินโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. แหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชนลดลง
  2. ประชาชนมีพฤติกรรมในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 30 พ.ค. 2562 10:00 น.