กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ อบรมให้ความรู้โรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะ
รหัสโครงการ 62-L5298-02-11-017
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่ม อสม.หมู่ที่ 7
วันที่อนุมัติ 1 ตุลาคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2562
งบประมาณ 19,712.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ น.ส.ฮับส๊ะ อาดำ ประธาน อสม.หมู่ที่ 7
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเกตรี อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.702,100.095place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานความปลอดภัยทางถนน , แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคชิคุนกุนยา เป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาต่อสาธรณสุข ที่สำคัญเนื่องจากเรื่องนี้มีแนวโน้มจะระบาทในช่วงฤดูฝนของ ทุกปี และพบว่าประชาชนที่ป่วยด้วยโรคชิคุนกุนยามากที่สุด ในแก่วัยเรียนที่มีอายุตั้งแต่ 5-10 ปี รองลงมาคือเด็กก่อนวัยเรียน และเด็กโตตามลำดับ ในปีงบประมาณ 2561 ตำบลเกตรีมีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก/ชิคุนกุนยา จำนวน 50 ราย ปัจจุบันยังพบผู้ป่วยชิคุนกุนยาในผู้ใหญ่ และมีการติดโรคตลอดทั้งปีอีกด้วย หมู่ที่7 ตำบลเกตรี เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาในการระบาดของโรคชิคุนกุนยามาอย่างต่อเนื่อง   ดังนั้น อสม.7 จึงได้คิดทำ โครงการอบรมให้ความรู้โรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะเพื่อทำลายชิคุนกุนยาและจำเป็นต้องระดมทุนความร่วมมือ จากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ในการกำจัดยุงลายลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหะนำโรคชิคุนกุนยาและร่วมมือป้องกันโรคที่ยั่งยืน อสม. และชาวบ้านในชุมชนหมู่ที่7 จึงได้จัดกิจกรรม กำจัด และป้องกันการเกิดลูกน้ำยุงลายเพื่อป้องกันและควบคุมโรคชิคุนกุนยา

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1. เพื่อให้คนในชุมชนรู้วิธีป้องกันโรคชิคุนกุนยา ข้อที่ 2. เพื่อให้รู้จักอาการของโรคชิคุนกุนยา

เพื่อให้คนในชุมชนรู้จักวิธีรักษาในเบื้องต้น เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายตระหนักถึงอันตรายจากยุงลาย

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

จัดอบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย - รณรงค์โดยใช้ป้ายไวนิล - สรุปและประเมินผลโครงการ - ประเมินโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

คนในชุมชนรู้วิธีป้องกันโรคชิคุนกุนยา - คนในชุมชนรู้จักวิธีรักษาในเบื้องต้น - กลุ่มเป้าหมายตระหนักถึงอันตรายจากยุงลาย

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 30 พ.ค. 2562 15:10 น.