โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 6 บ้านควนเคี่ยม
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 6 บ้านควนเคี่ยม ”
ตำบลทุ่งค่าย อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
ชมรม อสม.หมู่ที่ 6
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งค่าย
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 6 บ้านควนเคี่ยม
ที่อยู่ ตำบลทุ่งค่าย อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 60-L1505-2-06 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 6 บ้านควนเคี่ยม จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งค่าย อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งค่าย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 6 บ้านควนเคี่ยม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 6 บ้านควนเคี่ยม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งค่าย อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 60-L1505-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,190.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งค่าย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันนี้ แม้การแพทย์จะสามารถเอาชนะโรคร้ายต่างๆมากมาย ทำให้ประชากรพ้นจากการเจ็บป่วยเหล่านั้นและมีอายุที่ยืนยาวขึ้น แต่จำนวนคนที่เป็นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงกลับมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว ต้นเหตุของการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้เป็นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงในปัจจุบัน คืออุปนิสัยการกินอยู่ที่เปลี่ยนไป มีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลงในการใช้ชีวิตประจำวัน กินอาหารที่มีไขมันเพิ่มขึ้น ซึ่งไขมันที่สะสมอยู่ที่พุงเป็นตัวการสำคัญที่ทำให้ระดับน้ำตาลและระดับไขมันในเลือดเพิ่มสูงขึ้น เป็นตัวนำไปสู่การเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จากผลการตรวจคัดกรองความดันและเบาหวานในปี 2559หมู่ที่ 6 บ้านควนเคี่ยม พบว่า ประชาชน 15 ปี ขึ้นไปทั้งหมด 328 คนมีกลุ่มเสี่ยงความดัน จำนวน118 คนกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 47 คน นอกจากนี้จากการสอบถามเจ้าหน้าที่ประจำโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนเคี่ยมพบว่า จำนวนผู้ป่วยหมู่ที่ 6 บ้านควนเคี่ยม มีจำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั้งหมด 57 คนมีจำนวนผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด 22 คน ในการลดการเกิดของโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ต้องทำโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคนในหมู่บ้านด้วยการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต ทำให้เกิดความตระหนักในอันตรายของอาหารที่ทำให้เกิดความอ้วน อันตรายของชีวิตที่กินๆนอนๆไม่ขยับเขยื้อน ไม่ออกกำลังกาย
เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้กลุ่มป่วยมีภาวะแทรกซ้อนและกลุ่มเสี่ยงเหล่านี้กลายมาเป็นผู้ป่วยชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านหมู่ที่ 6 บ้านควนเคี่ยมจึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองในการปรับพฤติกรรมไม่ให้เป็นผู้ป่วยความดันและเบาหวาน
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเกินค่ามาตรฐาน สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้และไม่เป็นโรคเบาหวาน
- เพื่อให้ผู้ที่มีระดับความดันโลหิตสูงเกิน 140/90 mm/Hg สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐานสามารถลดหรือควบคุมน้ำหนักได้ดีกว่าก่อนเข้าร่วมโครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
148
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
8.1ประชาชนหมู่ที่ 6 บ้านควนเคี่ยม มีความรู้เกี่ยวกับโรคความดันและเบาหวาน
8.2ประชาชนทราบว่าสมาชิกในครอบครัวเป็นกลุ่มใด ตามเกณฑ์ปิงปองจราจร 7 สี
8.3กลุ่มเสี่ยงความดันและกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และไม่กลายเป็นผู้ป่วย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จัดอบรมกลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มเสี่ยวความดันและเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 148 คน โดยจัดทำคู่มือให้ความรู้แก่ผุู้เข้ารับการอบรมเกี่ยวกับการป้องกันโรคความดันและเบาหวาน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในเรื่องการควบคุมอาหาร อาหารที่เหมาะสมสำหรับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การออกกำลังกาย การฝึกสมาธิ การจัดการกับความเครียด นอกจากนี้ยังได้เชิญวิทยากรที่มีความรุู้เรื่องสมุนไพรพื้นบ้านที่ช่วยลดความดันและเบาหวาน เช่น ชามะละกอ ชาชะมวง การยืดเหยียดกล้ามเนื้อเพื่อลดการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ลดการกินยาแก้ปวดเมื่อย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองในการปรับพฤติกรรมไม่ให้เป็นผู้ป่วยความดันและเบาหวาน
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเกินค่ามาตรฐาน สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้และไม่เป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อให้ผู้ที่มีระดับความดันโลหิตสูงเกิน 140/90 mm/Hg สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้
ตัวชี้วัด :
4
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐานสามารถลดหรือควบคุมน้ำหนักได้ดีกว่าก่อนเข้าร่วมโครงการ
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
148
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
148
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองในการปรับพฤติกรรมไม่ให้เป็นผู้ป่วยความดันและเบาหวาน (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเกินค่ามาตรฐาน สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้และไม่เป็นโรคเบาหวาน (3) เพื่อให้ผู้ที่มีระดับความดันโลหิตสูงเกิน 140/90 mm/Hg สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ (4) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐานสามารถลดหรือควบคุมน้ำหนักได้ดีกว่าก่อนเข้าร่วมโครงการ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 6 บ้านควนเคี่ยม จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 60-L1505-2-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ชมรม อสม.หมู่ที่ 6 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 6 บ้านควนเคี่ยม ”
ตำบลทุ่งค่าย อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
ชมรม อสม.หมู่ที่ 6
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลทุ่งค่าย อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 60-L1505-2-06 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 6 บ้านควนเคี่ยม จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งค่าย อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งค่าย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 6 บ้านควนเคี่ยม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 6 บ้านควนเคี่ยม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งค่าย อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 60-L1505-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,190.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งค่าย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันนี้ แม้การแพทย์จะสามารถเอาชนะโรคร้ายต่างๆมากมาย ทำให้ประชากรพ้นจากการเจ็บป่วยเหล่านั้นและมีอายุที่ยืนยาวขึ้น แต่จำนวนคนที่เป็นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงกลับมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว ต้นเหตุของการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้เป็นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงในปัจจุบัน คืออุปนิสัยการกินอยู่ที่เปลี่ยนไป มีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลงในการใช้ชีวิตประจำวัน กินอาหารที่มีไขมันเพิ่มขึ้น ซึ่งไขมันที่สะสมอยู่ที่พุงเป็นตัวการสำคัญที่ทำให้ระดับน้ำตาลและระดับไขมันในเลือดเพิ่มสูงขึ้น เป็นตัวนำไปสู่การเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จากผลการตรวจคัดกรองความดันและเบาหวานในปี 2559หมู่ที่ 6 บ้านควนเคี่ยม พบว่า ประชาชน 15 ปี ขึ้นไปทั้งหมด 328 คนมีกลุ่มเสี่ยงความดัน จำนวน118 คนกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 47 คน นอกจากนี้จากการสอบถามเจ้าหน้าที่ประจำโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนเคี่ยมพบว่า จำนวนผู้ป่วยหมู่ที่ 6 บ้านควนเคี่ยม มีจำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั้งหมด 57 คนมีจำนวนผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด 22 คน ในการลดการเกิดของโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ต้องทำโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคนในหมู่บ้านด้วยการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต ทำให้เกิดความตระหนักในอันตรายของอาหารที่ทำให้เกิดความอ้วน อันตรายของชีวิตที่กินๆนอนๆไม่ขยับเขยื้อน ไม่ออกกำลังกาย
เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้กลุ่มป่วยมีภาวะแทรกซ้อนและกลุ่มเสี่ยงเหล่านี้กลายมาเป็นผู้ป่วยชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านหมู่ที่ 6 บ้านควนเคี่ยมจึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองในการปรับพฤติกรรมไม่ให้เป็นผู้ป่วยความดันและเบาหวาน
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเกินค่ามาตรฐาน สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้และไม่เป็นโรคเบาหวาน
- เพื่อให้ผู้ที่มีระดับความดันโลหิตสูงเกิน 140/90 mm/Hg สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐานสามารถลดหรือควบคุมน้ำหนักได้ดีกว่าก่อนเข้าร่วมโครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 148 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
8.1ประชาชนหมู่ที่ 6 บ้านควนเคี่ยม มีความรู้เกี่ยวกับโรคความดันและเบาหวาน
8.2ประชาชนทราบว่าสมาชิกในครอบครัวเป็นกลุ่มใด ตามเกณฑ์ปิงปองจราจร 7 สี
8.3กลุ่มเสี่ยงความดันและกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และไม่กลายเป็นผู้ป่วย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จัดอบรมกลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มเสี่ยวความดันและเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 148 คน โดยจัดทำคู่มือให้ความรู้แก่ผุู้เข้ารับการอบรมเกี่ยวกับการป้องกันโรคความดันและเบาหวาน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในเรื่องการควบคุมอาหาร อาหารที่เหมาะสมสำหรับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การออกกำลังกาย การฝึกสมาธิ การจัดการกับความเครียด นอกจากนี้ยังได้เชิญวิทยากรที่มีความรุู้เรื่องสมุนไพรพื้นบ้านที่ช่วยลดความดันและเบาหวาน เช่น ชามะละกอ ชาชะมวง การยืดเหยียดกล้ามเนื้อเพื่อลดการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ลดการกินยาแก้ปวดเมื่อย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองในการปรับพฤติกรรมไม่ให้เป็นผู้ป่วยความดันและเบาหวาน ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเกินค่ามาตรฐาน สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้และไม่เป็นโรคเบาหวาน ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อให้ผู้ที่มีระดับความดันโลหิตสูงเกิน 140/90 mm/Hg สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ ตัวชี้วัด : |
|
|||
4 | เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐานสามารถลดหรือควบคุมน้ำหนักได้ดีกว่าก่อนเข้าร่วมโครงการ ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 148 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 148 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองในการปรับพฤติกรรมไม่ให้เป็นผู้ป่วยความดันและเบาหวาน (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเกินค่ามาตรฐาน สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้และไม่เป็นโรคเบาหวาน (3) เพื่อให้ผู้ที่มีระดับความดันโลหิตสูงเกิน 140/90 mm/Hg สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ (4) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐานสามารถลดหรือควบคุมน้ำหนักได้ดีกว่าก่อนเข้าร่วมโครงการ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 6 บ้านควนเคี่ยม จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 60-L1505-2-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ชมรม อสม.หมู่ที่ 6 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......