กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการอาสาห่วงใย สูงวัยสุขภาพดี ”
อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นางเสาวณีย์ คำแก้ว




ชื่อโครงการ โครงการอาสาห่วงใย สูงวัยสุขภาพดี

ที่อยู่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2562-L7572-02-026 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 พฤษภาคม 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอาสาห่วงใย สูงวัยสุขภาพดี จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอาสาห่วงใย สูงวัยสุขภาพดี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอาสาห่วงใย สูงวัยสุขภาพดี " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2562-L7572-02-026 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 พฤษภาคม 2562 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 49,545.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยจะมีผู้สูงอายุสูงถึง 1 ใน 5 ของประชากรทั้งหมดและมากกว่าประชากรเด็ก พร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ โดยมีประชากรผู้สูงอายุมากกว่าเด็ก การมีสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วทำให้เห็นว่าประเทศไทยมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ที่จะต้องเตรียมความพร้อมรองรับการเป็นสังคมผู้สูงอายุ ที่กำลังจะมาถึง เพราะผู้สูงอายุถือเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคต่างๆ สาเหตุมาจากความเสื่อมตามธรรมชาติของร่างกายและโรคประจำตัวเรื้อรัง ซึ่งต้องได้รับการดูแลที่แตกต่างไปจากผู้ป่วยในกลุ่มอื่น นอกจากนี้การเจ็บป่วยของผู้สูงอายุอาจเกิดขึ้นกับอวัยวะต่างๆ ในเวลาเดียวกัน หากไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงทีจะทำให้มีความรุนแรงเพิ่มขึ้น ผู้สูงอายุควรดูแลตนเองให้แข็งแรงตั้งแต่อายุน้อยเพื่อเป็นผู้สูงอายุที่แข็งแรงและมีความสุข ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีปัญหาสุขภาพเนื่องมาจากความเสื่อมของร่างกาย สภาพของภาวะข้อเข่าเสื่อมเป็นภาวะที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ และมีแนวโน้มจะสูงขึ้นเรื่อยๆ พบว่า อายุ 40 ปีเริ่มมีข้อเสื่อม อายุ 60 ปี เป็นข้อเข่าเสื่อมได้ถึงร้อยละ 40 เพศ ผู้หญิงพบมากกว่าผู้ชาย 2-3 เท่า
      จากการสำรวจสุขภาพของประชาชนพบว่าชุมชนบ้านร่วมใจพัฒนา ชุมชนบ้านดอนรุน ชุมชนบ้านสวนหลวง ชุมนบ้านปากแพรก และชุมชนโคกคีรี ซึ่งเป็นชุมชนที่มีพื้นที่ใกล้เคียงกัน ซึ่งมีผู้สูงอายุ ประมาณ 330 คน ซึ่งพบว่าส่วนใหญ่มีปัญหาเกี่ยวกับการปวดข้อต่างๆ เช่น ปวดข้อเข่า ข้อสะโพก ข้อมือ ข้อเท้า เป็นต้น นอกจากในวัยผู้สูงอายุแล้ว วัยทำงานก็ยังพบปัญหาดังกล่าว ซึ่งส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิต ดังนั้น อสม./และแกนนำชุมชนดังกล่าว ได้เห็นความสำคัญ และจัดตั้งกลุ่มเพื่อดูแลปัญหาด้านสุขภาพขึ้น จึงได้จัดทำโครงการอาสาห่วงใย สูงวัยสุขภาพดี เพื่อส่งเสริมสุขภาพของผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับการปวดข้อต่างๆ และส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีภายในและระหว่างชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมความรู้เรื่องภาวะปวดข้อ ภาวะข้อเสื่อม
  2. เพื่อป้องกันภาวะข้อเสื่อม ในผู้ที่มีอาการปวดข้อ
  3. เพื่อลดอาการปวดข้อ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมวางแผนการดำเนินงาน
  2. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะข้อเข่าเสื่อม
  3. การใช้สมุนไพรพอกเข่า
  4. ประเมินผลการดำเนินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 140
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 140
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับภาวะปวดข้อและภาวะข้อเข่าเสื่อม

2.ผู้เข้าร่วมโครงการมีอาการปวดข้อลดลง

3.มีการใช้สมุนไพรอย่างถูกวิธี

4.สมาชิกในชุมชนรู้จักพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะข้อเข่าเสื่อม

วันที่ 21 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะข้อเข่าเสื่อม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะข้อเข่าเสื่อม

 

140 0

2. การใช้สมุนไพรพอกเข่า

วันที่ 27 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

การใช้สมุนไพรพอกเข่า

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การใช้สมุนไพรพอกเข่า

 

140 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมความรู้เรื่องภาวะปวดข้อ ภาวะข้อเสื่อม
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องภาวะข้อเสื่อม มากกว่าร้อยละ 80
80.00

 

2 เพื่อป้องกันภาวะข้อเสื่อม ในผู้ที่มีอาการปวดข้อ
ตัวชี้วัด : ผู้ที่มีภาวะปวดข้อมีภาวะข้อเข่าเสื่อมโดยการวินิจฉัยของแพทย์น้อยกว่าร้อยละ5
5.00

 

3 เพื่อลดอาการปวดข้อ
ตัวชี้วัด : อาการปวดลดลงร้อยละ 80
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 280 51
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 140 51
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 140
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมความรู้เรื่องภาวะปวดข้อ ภาวะข้อเสื่อม (2) เพื่อป้องกันภาวะข้อเสื่อม ในผู้ที่มีอาการปวดข้อ (3) เพื่อลดอาการปวดข้อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวางแผนการดำเนินงาน (2) จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะข้อเข่าเสื่อม (3) การใช้สมุนไพรพอกเข่า (4) ประเมินผลการดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอาสาห่วงใย สูงวัยสุขภาพดี จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2562-L7572-02-026

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเสาวณีย์ คำแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด