กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการตรวจหาสารพิษตกค้างในเลือดเกษตรกร
รหัสโครงการ 62-L4121-1-14
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกระป๋อง
วันที่อนุมัติ 21 พฤษภาคม 2019
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 21 พฤษภาคม 2019 - 30 กันยายน 2019
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2019
งบประมาณ 28,200.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสุภาสินี ศรีประเสริฐ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 24 มิ.ย. 2019 24 มิ.ย. 2019 28,200.00
รวมงบประมาณ 28,200.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 120 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วยประชากรส่วนใหญ่ใน พื้นที่หมู่ที่ 3 และ หมูที่ 8 ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต ประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยมีพื้นที่ที่ใช้ในการเกษตรมากถึงร้อยละ 80 ซึ่งประกอบด้วยพื้นที่ ทำสวนผลไม้และสวนยางพารา มีการใช้สารเคมีในการควบคุมและกำจัดศัตรูพืช กระจายและขยายเป็นวงกว้าง และยังคงใช้ในระดับที่สูงอยู่ โดยเฉพาะยาปราบศัตรูพืช กลุ่มออแกนโนฟอสเฟสและกลุ่มคาร์บาเมท จากข้อมูลสอบถามร้านจำหน่ายยาปราบศัตรูพืชดังกล่าวในตำบลแม่หวาดมียอดจำหน่ายสูงกว่าชนิดอื่น แสดงว่าเกษตรกรใน ยังคงมีการใช้สารเคมีกำจัดสัตรูพืชอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งในการนำมาใช้นั้นได้มีการใช้อย่างไม่ถูกวิธีและขาดความรู้ จึงทำให้มีผลกระทบกับด้านสุขภาพโดยตรง ดังนั้นกลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม กลุ่ม อสม.รักษ์สุขภาพบ้านกระป๋อง เล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรกรในหมู่ที่ 3 และ หมูที่ 8 ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต จังหวัดยะลา จึงได้จัดทำโครงการตรวจหารสารพิษตกค้างในเลือดเกษตรกร ขึ้นเพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงในหมูที่ 3 และ หมู่ที่ 8 ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต จังหวัดยะลา ได้รับการตรวจสุขภาพและเจาะเลือดเพื่อดูว่ามีปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดโดยการวัดค่าเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรสว่าอยู่ในระดับใด เพื่อทำการเฝ้าระวังและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อไปพฤติกรรม

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1 เพื่อตรวจหาระดับปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกรที่มีผลต่อสุขภาพ จำนวน 120
  1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจหาสารตกค้าง ร้อยละ 100
  2. ประชาชนได้รับการคัดกรองละส่งต่อในรายที่พบสารเคมีในร่างกายที่เสี่ยงต่อการเจ็บป่วย
0.00
2 2 เพื่อให้เกษตรกรเกิดความรู้และนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้องและลดความเสี่ยงลงได้ร้อยละ 50 ของเกษตรกรที่ตรวจพบความเสี่ยง
  1. ประชาชนมีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแบบมีส่วนร่วมในการดูสุขภาพตนเองที่ถูกต้องและลดความเสี่ยง ร้อยละ 50
0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 240 28,200.00 0 0.00
1 มิ.ย. 62 - 30 ก.ย. 62 จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้พิษภัยการใช้สารเคมีที่ส่งผลต่อร่างกายในกลุ่มประชาชนเกษครกร 120 22,600.00 -
1 มิ.ย. 62 - 30 ก.ย. 62 การตรวจคัดกรองสุขภาพในกลุ่มที่ใช้สารเคมี 120 5,600.00 -
  1. ประชุมคณะกรรมการ จัดการประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเกษตรกรหมู่ที่ 3 และหมูที่ 8 ทราบเพื่อเข้าร่วมกิจกรรมโดย เตรียมกลุ่มเป้าหมาย และนัด วัน เวลา และสถานที่ในการดำเนินงาน
    1. เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ในการตรวจคัดกรอง โดยใช้กระดาษทดสอบเอนไซม์โลคีนเอสเตอเรส
    2. ดำเนินการตรวจหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในกลุ่มเกษตรกร ตามวัน และเวลาที่นัดหมาย
    3. แจ้งผลการตรวจเลือด พร้อมให้ความรู้ในการใช้สารเคมีปราบศัตรูพืชที่ถูกต้อง ปลอดภัย คำแนะนำในการดูแลสุขภาพ
    4. ตรวจซ้ำหาเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรสในเกษตรกรที่ตรวจพบครั้งก่อนเพื่อประเมินการลดลงความเสี่ยงลง ร้อยละ 50
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ทราบถึงสถานการณ์สารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในเลือดของเกษตรกลุ่มเสี่ยงในหมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 8 2. เพื่อจะได้นำข้อมูลมาใช้ในการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การเฝ้าระวังและควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพของเกษตรกร 3. เกษตรกรมีความรู้ในการปลูกพืชปลอดสารพิษ และวิธีการใช้สารเคมีที่ถูกต้อง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 มิ.ย. 2019 13:02 น.