กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส


“ โครงการขับเคลื่อนงานยาเสพติด TO BE NUMBER ONE ในโรงเรียนปีงบประมาณ 2560 ”

ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสาลินี จงเจตดี

ชื่อโครงการ โครงการขับเคลื่อนงานยาเสพติด TO BE NUMBER ONE ในโรงเรียนปีงบประมาณ 2560

ที่อยู่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60/L2535/1/03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการขับเคลื่อนงานยาเสพติด TO BE NUMBER ONE ในโรงเรียนปีงบประมาณ 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการขับเคลื่อนงานยาเสพติด TO BE NUMBER ONE ในโรงเรียนปีงบประมาณ 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการขับเคลื่อนงานยาเสพติด TO BE NUMBER ONE ในโรงเรียนปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60/L2535/1/03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,584.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากสถานการณ์ในปัจจุบัน สังคมไทยต้องประสบกับปัญหาต่างๆ มากมาย อาทิเช่น ปัญหาการก่อการร้ายในบริเวณ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ปัญหาอุทกภัย ปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดฯลฯ โดยเฉพาะปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดนั้น นับได้ว่ามีแนวโน้มที่จะทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น และเป็นปัญหาระดับชาติ เป็นนโยบายของรัฐบาลที่เร่งด่วนให้ภาครัฐและประชาชนร่วมกันแก้ไข ซึ่งในขณะนี้แม้กระทั่งสำนักงานตำรวจแห่งชาติและหน่วยงานทุกภาคส่วน จะได้พยายามเร่งระดมสรรพกำลังและทรัพยากรด้านต่างๆ ในการดำเนินการป้องกันปราบปรามอย่างจริงจังและต่อเนื่อง แต่ก็ปรากฎได้ว่าความพยายาม ดังกล่าวได้ผลเพียงในระดับหนึ่งเท่านั้น เนื่องจาการปฏิบัติมีข้อจำกัดหลายประการ โดยเฉพาะในเขตชุมชนเมืองและชุมชนหนาแน่น รวมทั้งพื้นที่ที่มีสถานบริการและมั่วสุมต่างๆ เช่น ร้านเกมส์ อินเตอร์เน็ตและสถานที่ลับตาผู้คน ฯลฯ ประชากรกลุ่มเสี่ยงยังคงเป็นเยาวชนทั้งในและนอกสถานศึกษา ตลอดจนผู้ใช้แรงงานและผู้ว่างงาน อีกทั้งผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติดรายใหม่มีจำนวนเพิ่มขึ้น ทั้งผู้ค้าและผู้เสพ และเพื่อเป็นการมุ่งเน้นการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่ที่ยังมีการแพร่ระบาดของยาเวพติดให้หมดสิ้นไปจากประเทศไทย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปาเสมัสได้ตระหนักถึงความรุนแรง และผลกระทบของปัญหายาเสพติดระยะยาวซึ่งอาจจะหวนกลับมาแร่ระบาดเข้าไปสู่กลุ่มอื่นๆ อีก ซึ่งจะต้องสร้างระบบเฝ้าระวังควบคุมแหล่งเสี่ยงตาอการแพร่ระบาดของยาเสพติดให้ได้โดยเด็ดขาด โดยได้รับความร่วมมือจากหมู่บ้าน/ชุมชน และสถานประกอบการร่วมกันเข้าแก้ไขปัญหายาเสพติด ซึ่งการแก้ไขปัญหานี้เป็นเรื่องยากในการที่จะดำเนินการแต่เพียงฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปาเสมัสจึงร่วมกับหน่วยงานเครือข่ายต่างๆ ในตำบล จัดทำโครงการดังกล่าวขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้ป่วยยาเสพติดเข้าสู่กระบวนการบำบัดที่ถูกต้องและเหมาะสม
  2. 2. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้นเพื่อคืนคนดีสู่สังคม
  3. 3. เพื่อสร้างกระแสค่านิยมและสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจในกลุ่มเยาวชนไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
  4. 4. เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่สมาชิกชมรม To be number one

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมขับเคลื่อนงานยาเสพติด to be number one

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 91
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีการดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
  2. มีระบบป้องกันและเฝ้าระวังยาเสพติดในพื้นที่
  3. เกิดระบบการติดตามประเมินผลการปฏิบัติภารกิจป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่เป็นประจำทุกเดือน
  4. สถานศึกษามีเครือข่ายนักเรียนในการป้องกันและแก้ไขต่อต้านยาเสพติด
  5. สถานศึกษา ชุมชน และประเทศชาติ มีความเข้มแข็งในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมขับเคลื่อนงานยาเสพติด to be number one

วันที่ 15 กันยายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมขับเคลื่อนยาเสพติด To be number one

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมขับเคลื่อนยาเสพติด To be number one นักเรียนได้รู้ถึงพิษภัยของยาเสพติด

 

91 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้ป่วยยาเสพติดเข้าสู่กระบวนการบำบัดที่ถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด :

 

2 2. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้นเพื่อคืนคนดีสู่สังคม
ตัวชี้วัด :

 

3 3. เพื่อสร้างกระแสค่านิยมและสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจในกลุ่มเยาวชนไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
ตัวชี้วัด :

 

4 4. เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่สมาชิกชมรม To be number one
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 91
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 91
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ป่วยยาเสพติดเข้าสู่กระบวนการบำบัดที่ถูกต้องและเหมาะสม (2) 2. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้นเพื่อคืนคนดีสู่สังคม (3) 3. เพื่อสร้างกระแสค่านิยมและสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจในกลุ่มเยาวชนไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด (4) 4. เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่สมาชิกชมรม To be number one

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมขับเคลื่อนงานยาเสพติด to be number one

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการขับเคลื่อนงานยาเสพติด TO BE NUMBER ONE ในโรงเรียนปีงบประมาณ 2560 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60/L2535/1/03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสาลินี จงเจตดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด