กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน


“ โครงการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานตามวิถีชุมชน ”

ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายฮารีส หะยีดอรอนิง

ชื่อโครงการ โครงการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานตามวิถีชุมชน

ที่อยู่ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 60-L4123-1-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานตามวิถีชุมชน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานตามวิถีชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานตามวิถีชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4123-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นภัยเงียบที่มัถูกมองข้ามเพราะระยะการดำเนินโรคที่นาน 5-10 ปี จึงจะแสดงอาการ แต่เมื่อเป็นแล้วทำให้ป่วย พิการและเสียชีวิตก่อนวัยอันควร โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เป็นโรคเรื้อรังที่เกิดจากปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ เช่น กรรมพันธุ์ อายุ และปัจจัยที่สามารถควบคุมได้ เช่น ความอ้วน ความเครียด ขาดการออกกำลังการ การบริโภคอาหารไม่เหมาะสม การดื่มสุรา สูบบุหรี่ ถ้าหากประชานไม่มีการควบคุมปัจจัยดังกล่าว ร่วมกับการมีอายุที่มาขึ้น คือ 35 ปีขึ้นไป ย่อมมีโอกาสเสี่ยต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบ้าหวานหรือความดันโลหิตสูงได้ ซึ่งเมื่อเจ็บป่วยด้วยโรคดังกล่าวแล้วจำเป็จ้องรับประทานยาตลอดชีวิตหรือถ้าหากมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา เช่น โรคไต โรคหลอดเลื่อดในสมอง ก่อให้เกิดความพิการ กระทบต่อคุณภาพชีวิตประชาชน และทำให้สูญเสียค่าใช้จ่ายมากขึ้น จากรายงานสถิติสุขภาพแห่งประเทศไทยพบว่าประชากรไทยมีแนวโน้มการเสียชีวิตและป่วยจากโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เพิ่มสูงขึ้น โดยปัจจุบันโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทรายแก้ว มีผู้ป่วยโรคเบาหวาน21รายโรคความดันโลหิตสูง197 ราย และเป็นทั้ง 2 โรค61ราย ซึ่งการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในอดีตนั้นใช้วิธีตั้งรับในหน่วยบริการ เมื่อวินิจฉัยโรคแล้วก้เข้าสู่กระบวนการรักษา แม้มีระบบการนัดติดตามและให้ยาตามมาตรฐานแล้ว แต่ยังพบผู้ป่วยจำนวนมาก ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด และระดับความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ที่ปลอดภัยได้ ดังนั้นปี 2560 จึงได้พัฒนาคลินิกโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงขึ้นในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทรายแก้ว และจัดบริการใกล้บ้านใกล้ใจตามความสมัครใจของผู้ป่วย ซึ่งผู้ป่วยที่ควบคุมได้ตามเกณฑ์ขอรับยาที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทรายแก้ว ใกล้บ้านร้อยละ 100ขณะเดียวกันได้พัฒนาองค์ความรู้ต่าง ๆ ตั้งแต่กระบวนการคัดกรองจนถึงกระบวนการรักษาและป้องกันภาวะแทรกซ้อน รวมถึงพัฒนากระบวนการให้คำปรึกษาด้านพฤติกรรมสุขภาพโดยสหวิชาชีและกิจกรรมกลุ่มในคลินิกเรื่อยมาจนเกิดการเชื่อมโยงระหว่างหน่วยงาน เครื่อข่ายจิตอาสาในชุมชน พบว่าผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตสูงได้ตามเกณฑ์มากขึ้น และสามารถเข้าถึงการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ได้ครอบคลุมมากขึ้น แต่วยังพบปัญหาคือผู้ป่วยขาดนัด และควบคุมระดับความดันดลหิตและน้ำตาลในเลือดไม่ได้ตามเกณฑ์ จึงมีการพัฒนาศักยภาพ อสม. ผู้ป่วยและญาติให้สมารถดำเนินกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพเพื่อควบคุมและป้องกันโรคตลอดถึงการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน กรณีเกิดภาวะแทรกซ้อนแล้วคนในชุมชนช่วยกันดูแลและมีคุณภาพชีวิตดีขึ้นส่งผลให้ผลลัพท์ภาพรวมในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่ศูนย์สุขภาพชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำชุมชน และญาติในการดูแลต่อเนื่องที่บ้านและการเสริมพลังอำนาจให้กับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
  2. เพื่อกำหนดแนวทางปฏิบัติในการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานให้สามารถนำไปใช้ดูแลตนเองและชุมชนได้
  3. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและน้ำตาลในเลือดได้ตามเกณฑ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 140
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงได้เข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ มีความรู้และนำไปปรับใช้กับวิถีชีวิตตนเอง และบุคคลในครอบครัวได้
    2. ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสุงที่เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มครบตามนัน มีความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง และสามารถควบคุมระดับน้ำตาล ระดับความดันโลหิตได้ดีขึ้น ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน พร้อมทั้งมีทักษะสามารถประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะสุขภาพในการดูแลตนเอง ครอบครับ ชุมชนได้
    3. ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสุง ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี ค้นหาความผิดปกติหรือโรคแทรกซ้อน เพื่อการรักษาที่ถูกต้อง
    4. ประชาชนในชุมชน มีความรู้ สามารถนำไปปรับใช้ ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของตนเองได้
    5. มีศูนย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชน
    6. มีบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพและสามารถสร้างแรงจูงใจให้คนอื่่น ๆ ได้ปฏิบัติตาม
    7. เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างแท้จริง และสามารถนำข้อเสนอแนะจากเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ไปพัฒนา เพื่อให้เกิดความยั่งยืนได้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่ศูนย์สุขภาพชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำชุมชน และญาติในการดูแลต่อเนื่องที่บ้านและการเสริมพลังอำนาจให้กับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อกำหนดแนวทางปฏิบัติในการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานให้สามารถนำไปใช้ดูแลตนเองและชุมชนได้
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและน้ำตาลในเลือดได้ตามเกณฑ์
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 140 140
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 140 140
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่ศูนย์สุขภาพชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำชุมชน และญาติในการดูแลต่อเนื่องที่บ้านและการเสริมพลังอำนาจให้กับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน (2) เพื่อกำหนดแนวทางปฏิบัติในการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานให้สามารถนำไปใช้ดูแลตนเองและชุมชนได้ (3) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและน้ำตาลในเลือดได้ตามเกณฑ์

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานตามวิถีชุมชน จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 60-L4123-1-07

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายฮารีส หะยีดอรอนิง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด