กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงโป


“ ฝึกอบรมการเสริมสร้างสุขภาพจิตที่ดีในวัยผู้สูงอายุ ”

ตำบลตันหยงโป อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายวีระ แซะอุหมาก

ชื่อโครงการ ฝึกอบรมการเสริมสร้างสุขภาพจิตที่ดีในวัยผู้สูงอายุ

ที่อยู่ ตำบลตันหยงโป อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 มิถุนายน 2562 ถึง 28 มิถุนายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"ฝึกอบรมการเสริมสร้างสุขภาพจิตที่ดีในวัยผู้สูงอายุ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตันหยงโป อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงโป ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ฝึกอบรมการเสริมสร้างสุขภาพจิตที่ดีในวัยผู้สูงอายุ



บทคัดย่อ

โครงการ " ฝึกอบรมการเสริมสร้างสุขภาพจิตที่ดีในวัยผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตันหยงโป อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 มิถุนายน 2562 - 28 มิถุนายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,050.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงโป เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของประเทศไทย ทำให้ประชากรในวัยผู้สูงอายุเกิดความไม่สมดุลในอัตราส่วนประชากรแรงงาน จำนวนผู้ที่จะทำหน้าที่ดูแลผู้สูงอายุในครอบครัวลดลง ซึ่งอาจจะก่อให้เกิดปัญหาในการพัฒนาประเทศขึ้นในอนาคตประกอบกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคม มีผลให้ลักษณะครอบครัวไทยเปลี่ยนจากครอบครัวขยาย ไปสู่ครอบครัวเดี่ยว ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัวลดลง มีเวลาให้ผู้สูงอายุลดลง ขาดการให้ความรักและความอบอุ่น ผู้สูงอายุจึงถูกทอดทิ้งให้อยู่โดดเดี่ยว ดำเนินชีวิตเพียงลำพัง ทำให้ผู้สูงอายุต้องเผชิญกับปัญหาในการปรับตัวเพื่อให้สอดคล้องกับสังคมในปัจจุบัน ทั้งในด้านความคิด ความเข้าใจ และค่านิยมต่างๆ ซึ่งก่อให้เกิดความน้อยใจ ความเครียด ความคับข้องใจ แยกตัวออกจากสังคม ขาดสัมพันธภาพกับสมาชิกในครอบครัว ท้อแท้และเบื่อหน่ายในชีวิต ประกอบกับวัยสูงอายุเป็นวัยที่ต้องเผชิญกับรูปแบบการดำเนินชีวิตแบบใหม่ ความสามารถในการทำงานลดลงเนื่องจากความเสื่อมสภาพของร่างกาย ทำให้มีรายได้ลดลง มีโรคทางกายเพิ่มมากขึ้น มีสารชีวเคมีและฮอร์โมนลดลง การสูญเสียสิ่งสำคัญของชีวิต เช่น การสูญเสียคู่ชีวิตเพราะตายจาก การสูญเสียบุตรเพราะแยกไปมีครอบครัว การสูญเสียตำแห่งหน้าที่การงาน การสูญเสียสถานภาพหรือบทบาททางสังคม ตลอดจนการสูญเสียการเป็นที่พึ่งของครอบครัว สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อจิตใจของผู้สูงอายุและหากผู้สูงอายุไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากบุคคลใกล้ชิดด้วยแล้ว จะยิ่งส่งเสริมให้ผู้สูงอายุว้าเหว่ มีภาวะซึมเศร้าและความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองลดลงจนเกิดความรู้สึกสิ้นหวัง แยกตัวออกจากสังคม เป็นผลให้เกิดความผิดปกติทางจิตใจที่รุนแรงและอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตได้           ดังนั้น การตระหนักและให้ความสำคัญการพัฒนาคุณภาพชีวิตทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจรวมถึงการเพิ่มทักษะการเรียนรู้ทางสังคม การเสริมสร้างความมีคุณค่าให้แก่ผู้สูงอายุ ชมรมผู้สูงอายุองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงโปจึงได้จัดทำโครงการฝึกอบรมการเสริมสร้างสุขภาพจิตที่ดีในวัยผู้สูงอายุ เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ได้มีความรู้ในเรื่องภาวะการเปลี่ยนทางด้านร่างกายและจิตใจนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันและเป็นการส่งเสริมการเข้าร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม ไม่อยู่เฉพาะในโลกของตัวเองหรือเฉพาะที่บ้านของตนเองซึ่งเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมให้สมาชิกในชุมชนทุกกลุ่ม ซึ่งเป็นการแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุได้อีกแนวทางหนึ่ง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุ/ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ผู้กำลังย่างเข้าสู่วัยผู้สูงอายุได้มีความรู้และทักษะ รู้ทันต่อความเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายและจิตใจ และสภาพสิ่งแวดล้อม ในการปรับตัวให้ดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุข
  2. 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุ/ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ผู้กำลังย่างเข้าสู่วัยผู้สูงอายุได้เข้าร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันได้พบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและสร้างสัมพันธภาพในหมู่คณะไม่รู้สึกว่าอยู่อย่างโดดเดี่ยว
  3. 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุ/ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ผู้กำลังย่างเข้าสู่วัยผู้สูงอายุมีความรู้ในเรื่องสุขอนามัยของร่างกาย เช่น เรื่องอาหารการกิน การออกกำลังกายที่ถูกวิธี การอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี เป็นต้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้สูงอายุ/ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ผู้กำลังย่างเข้าสู่วัยผู้สูงอายุได้รับความรู้และทักษะ รู้ทันต่อความเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายและจิตใจ และสภาพสิ่งแวดล้อม ในการปรับตัวให้ดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุข
    2. ผู้สูงอายุ/ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ผู้กำลังย่างเข้าสู่วัยผู้สูงอายุได้ทำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันได้พบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและสร้างสัมพันธภาพในหมู่คณะไม่รู้สึกว่าอยู่อย่างโดดเดี่ยว
    3. ผู้สูงอายุ/ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ผู้กำลังย่างเข้าสู่วัยผู้สูงอายุมีความรู้ปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องในการดูแลสุขอนามัยของร่างกายของตนเองแนะนำผู้อื่นได้อย่างถูกต้อง ในเรื่องอาหารการกิน การออกกำลังกายที่ถูกวิธี การอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี เป็นต้น

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุ/ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ผู้กำลังย่างเข้าสู่วัยผู้สูงอายุได้มีความรู้และทักษะ รู้ทันต่อความเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายและจิตใจ และสภาพสิ่งแวดล้อม ในการปรับตัวให้ดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุข
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    2 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุ/ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ผู้กำลังย่างเข้าสู่วัยผู้สูงอายุได้เข้าร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันได้พบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและสร้างสัมพันธภาพในหมู่คณะไม่รู้สึกว่าอยู่อย่างโดดเดี่ยว
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    3 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุ/ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ผู้กำลังย่างเข้าสู่วัยผู้สูงอายุมีความรู้ในเรื่องสุขอนามัยของร่างกาย เช่น เรื่องอาหารการกิน การออกกำลังกายที่ถูกวิธี การอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี เป็นต้น
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุ/ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ผู้กำลังย่างเข้าสู่วัยผู้สูงอายุได้มีความรู้และทักษะ รู้ทันต่อความเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายและจิตใจ และสภาพสิ่งแวดล้อม ในการปรับตัวให้ดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุข (2) 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุ/ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ผู้กำลังย่างเข้าสู่วัยผู้สูงอายุได้เข้าร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันได้พบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและสร้างสัมพันธภาพในหมู่คณะไม่รู้สึกว่าอยู่อย่างโดดเดี่ยว (3) 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุ/ผู้ดูแลผู้สูงอายุ  ผู้กำลังย่างเข้าสู่วัยผู้สูงอายุมีความรู้ในเรื่องสุขอนามัยของร่างกาย เช่น เรื่องอาหารการกิน  การออกกำลังกายที่ถูกวิธี  การอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี เป็นต้น

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ฝึกอบรมการเสริมสร้างสุขภาพจิตที่ดีในวัยผู้สูงอายุ จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายวีระ แซะอุหมาก )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด