กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปะแต


“ โครงการมหกรรมตลาดนัดสุขภาพสู่ชุมชนตำบลปะแต ”

ตำบลปะแต อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลปะแต

ชื่อโครงการ โครงการมหกรรมตลาดนัดสุขภาพสู่ชุมชนตำบลปะแต

ที่อยู่ ตำบลปะแต อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 60-4149-02-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 30 เมษายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมหกรรมตลาดนัดสุขภาพสู่ชุมชนตำบลปะแต จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะแต อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปะแต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมหกรรมตลาดนัดสุขภาพสู่ชุมชนตำบลปะแต



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการมหกรรมตลาดนัดสุขภาพสู่ชุมชนตำบลปะแต " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะแต อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-4149-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 692,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปะแต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสร้างสุขภาพ ถือเป็นกลยุทธ์ทางสุขภาพที่กำลังได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าจะช่วยกระตุ้นและส่งเสริมให้บุคคลเกิดพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะส่งผลโดยตรงต่อสุขภาพของบุคคลช่วยลดอัตราป่วยด้วยโรคต่างๆ การดูแลสุขภาพต้องเริ่มจากกลุ่มเด็ก 0-5 ปี โดยการให้ความรู้ผู้ปกครองให้ตระหนักถึงความสำคัญของการรับวัคซีนตามเกณฑ์ดูแลเรื่องโภชนาการและพัฒนาการเด็กตามวัยการส่งเสริมการดูแลฟันในเด็กตลอดจนถึงวัยเรียน เมื่อเข้าสู่วัยผู้ใหญ่จะกลายเป็นกลุ่มเป้าหมายที่ต้องดูแลหลายด้านเป็นวัยที่มีความสำคัญต่อครอบครัว โดยเน้นการการสร้างสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรค โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคอันเกี่ยวเนื่องกับวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปเช่นโรคหัวใจและหลอดเลือดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคเครียดและโรคมะเร็ง สาเหตุที่พบอุบัติการณ์ของโรคเพิ่มขึ้นเรื่อยๆเนื่องจาก กระบวนการสร้างสุขภาพ ไม่เพียงแต่จะเป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการให้การศึกษาด้านสุขภาพเท่านั้น แต่ยังเกี่ยวข้องกับการสนับสนุนด้านสิ่งแวดล้อมที่เอื้อให้เกิดผลในทางปฏิบัติและสภาพการณ์ของการดำรงชีวิตที่สอดคล้องกับสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรมบรรทัดฐานทางสังคมสิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจซึ่งก็คือวิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งจะก่อให้เกิดภาวะสุขภาพที่สมบูรณ์ของบุคคลและชุมชนนั่นเอง การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเป็นกิจกรรมหลักอีกกิจกรรมหนึ่ง เพราะผู้สูงอายุถือว่าเป็นปูชนียบุคคลของสังคมที่มีคุณค่ายิ่งเนื่องจากผ่านประสบการณ์มามาก ได้เคยเป็นกำลังสำคัญของสังคมมาก่อนมีความรู้มีทักษะ อนุรักษ์ และสืบทอด ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น วิถีชีวิตดั้งเดิม และได้ทำคุณประโยชน์แก่สังคมมาแล้วมากมายจำเป็นอย่างยิ่งที่คนรุ่นหลังจะต้องให้ความสำคัญ ในการยกย่องให้การดุแลผู้สูงอายุเหล่านี้ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีสุขภาพจิต สุขภาพกายเป็นการเชิดชูเกียรติให้ผู้สูงอายุ สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
คำว่าสุขภาพในความหมายของคนทั่วไปกลายเป็นเรื่องของการรอให้เจ็บป่วยก่อนแล้วค่อยรักษาทำให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายมากแต่ให้ผลตอบแทนด้านสุขภาพต่ำกว่าที่ควรจะเป็น นอกจากนี้แนวโน้มการเจ็บป่วยและปัญหาสุขภาพของประชาชนก็มีความซับซ้อนมากขึ้นดังนั้นการแก้ไขด้วยวิธีคิด วิธีการและองค์ความรู้เดิมจึงไม่เพียงพอ ถึงเวลาที่ทุกภาคส่วนของสังคมต้องมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบด้วยการสร้างสุขภาพและด้วยภูมิปัญญาของชุมชนทั้งสังคม โดยการเน้นให้ประชาชนมีพฤติกรรมการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องบริโภคอาหารที่สุกสะอาดปลอดภัยไม่ติดยาเสพติดส่งเสริมให้ประชาชนในแต่ละชุมชนรวมกลุ่มกันจัดกิจกรรมด้านสุขภาพในรูปของชมรมสร้างสุขภาพโดยมีวัตถุประสงค์ให้ชมรมสร้างสุขภาพเป็นศูนย์กลางและเป็นกลไกในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านสุขภาพสู่ประชาชนส่งเสริมให้ประชาชนมีการออกกำลังกายและมีโภชนาการที่ดีเป็นการลดปัจจัยเสี่ยงง่ายๆด้วยต้นทุนต่ำป้องกันโรคต่างๆอาทิโรคเบาหวาน โรคหัวใจขาดเลือด โรคความดันโลหิตสูง ฯลฯ ไม่ให้เกิดขึ้นก่อนวัยอันควร ทำให้ประชาชนมีสมรรถภาพดี สามารถทำงานได้เต็มตามศักยภาพ ขณะเดียวกันก็เป็นการลดค่าใช้จ่ายเพื่อสุขภาพลงไปในตัวด้วย นอกจากนี้ การออกกำลังกายยังลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคอื่นๆ เช่นมะเร็งลำไส้ใหญ่ โรคของกล้ามเนื้อกระดูกและข้อต่อต่างๆ ป้องกันโรคกระดูกพรุนในวัยกลางคน และโรคกระดูกตะโพกหักในวัยสูงอายุ มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดี ดังนั้นหากพิจารณาให้ลึกซึ้งจะเห็นได้ว่า การออกกำลังกายและมีภาวะโภชนาการที่ดี จึงเป็นมาตรการทางอ้อมที่ใช้ในการเพิ่มรายได้ประชาชาติได้ด้วย

การที่อาสาสมัครสาธารณสุข แกนนำครอบครัว ผู้ปกครองเด็ก และผู้สูงอายุ จะสามารถนำความรู้และประสบการณ์ไปใช้เพื่อขยายแนวร่วมการดำเนินงานสู่ภาคประชาชนได้จำเป็นจะต้องมีความรู้มีทักษะ และการให้คำแนะนำ ที่ถูกต้องรวมทั้งเป็นแบบอย่างที่ดีในเรื่องการสร้างสุขภาพครอบคลุมเนื้อหากิจกรรม 3อ.2ส. ได้แก่ การออกกำลังกายอาหารปลอดภัย สุขภาพจิตและอารมณ์สุรา และบุหรี่ รวมถึงการส่งเสริมป้องกันโรคด้วยวัคซีนในเด็ก 0-5 ปี การดูแลภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็ก การเฝ้าระวังด้านทันตสุขภาพการดูแลหญิงตั้งครรภ์ตลอดจนการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลปะแต ร่วมกับแกนนำเครือข่ายชมรมสร้างสุขภาพจึงได้จัดทำโครงการมหกรรมตลาดนัดสุขภาพสู่ชุมชนตำบลปะแต ปีงบประมาณ 2560ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีไทยโดยการสร้างการมีส่วนร่วมและความเข้มแข็ง ของภาคีเครือข่าย
  2. เพื่อเตรียมความพร้อมของเครือข่ายแกนนำสร้างสุขภาพ ในการนำนโยบายสู่การปฏิบัติ การสร้างสุขภาพที่ยั่งยืน
  3. เพื่อสร้างกระแสการสร้างสุขภาพของประชาชนทุกกลุ่มวัย ในพื้นที่
  4. เพื่อให้เกิดความรู้ และวิธีการที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพแก่แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในชุมชน และแกนนำครอบครัว ตลอดจนผู้ปกครองเด็ก และผู้สูงอายุ
  5. เพื่อสนับสนุนองคความรูที่ถูกตอง ปรับทัศนคติ ใหมีพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพที่ดี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200
    กลุ่มวัยทำงาน 500
    กลุ่มผู้สูงอายุ 500
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 120
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 300
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. รณรงค์การดูแลส่งเสริมสุขภาพที่บ้าน

    วันที่ 1 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดทำคู่มือ นวัตกรรม การส่งเสริมและดูแลสุขภาพที่บ้าน (สำหรับประชาชนทั่วไป กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง  กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มแม่และเด็ก ผู้ดูแลคนพิการ ) มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นคู่มือในการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนในพื้นที่ รณรงค์และให้ความรู้ที่บ้าน

     

    3,000 3,000

    2. อบรมให้ความรู้อาสาสมัครสาธารณสุข แกนนำด้านสุขภาพในกิจกรรมมหกรรมตลาดนัดสุขภาพ จำนวน 1 วัน โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือ อสม.และแกนนำสุขภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะของแกนนำสุขภาพ ในการสร้างสุขภาพให้แก่คนในพื้นที่ โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งสิ้น 16

    วันที่ 14 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อบรมให้ความรู้อาสาสมัครสาธารณสุข แกนนำด้านสุขภาพในกิจกรรมมหกรรมตลาดนัดสุขภาพ จำนวน 1 วัน โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือ อสม.และแกนนำสุขภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะของแกนนำสุขภาพ ในการสร้างสุขภาพให้แก่คนในพื้นที่ โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งสิ้น 160 คน 

     

    160 1,800

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีไทยโดยการสร้างการมีส่วนร่วมและความเข้มแข็ง ของภาคีเครือข่าย
    ตัวชี้วัด : เกิดกิจกรรมยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีไทยโดยการสร้างการมีส่วนร่วมและความเข้มแข็ง ของภาคีเครือข่ายอย่างน้อย 1 กิจกรรม

     

    2 เพื่อเตรียมความพร้อมของเครือข่ายแกนนำสร้างสุขภาพ ในการนำนโยบายสู่การปฏิบัติ การสร้างสุขภาพที่ยั่งยืน
    ตัวชี้วัด : แกนนำสร้างสุขภาพมีการความรู้ ในการนำนโยบายสู่การปฏิบัติ การสร้างสุขภาพที่ยั่งยืน อย่างน้อยร้อยละ 80

     

    3 เพื่อสร้างกระแสการสร้างสุขภาพของประชาชนทุกกลุ่มวัย ในพื้นที่
    ตัวชี้วัด : เกิดกิจกรรมสร้างกระแสการสร้างสุขภาพของประชาชนทุกกลุ่มวัย

     

    4 เพื่อให้เกิดความรู้ และวิธีการที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพแก่แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในชุมชน และแกนนำครอบครัว ตลอดจนผู้ปกครองเด็ก และผู้สูงอายุ
    ตัวชี้วัด : มีนวตกรรมการสร้างสุขภาพ การส่งเสริมและดูแลสุขภาพที่บ้าน โดยแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในชุมชน และแกนนำครอบครัว ตลอดจนผู้ปกครองเด็ก และผู้สูงอายุ ในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง

     

    5 เพื่อสนับสนุนองคความรูที่ถูกตอง ปรับทัศนคติ ใหมีพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพที่ดี
    ตัวชี้วัด : มีการสนับสนุนองคความรูที่ถูกตอง ปรับทัศนคติ ใหมีพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพที่ดี อย่างน้อย 1 กิจกรรม

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2120
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200
    กลุ่มวัยทำงาน 500
    กลุ่มผู้สูงอายุ 500
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 120
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 300
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีไทยโดยการสร้างการมีส่วนร่วมและความเข้มแข็ง ของภาคีเครือข่าย (2) เพื่อเตรียมความพร้อมของเครือข่ายแกนนำสร้างสุขภาพ ในการนำนโยบายสู่การปฏิบัติ
    การสร้างสุขภาพที่ยั่งยืน (3) เพื่อสร้างกระแสการสร้างสุขภาพของประชาชนทุกกลุ่มวัย ในพื้นที่ (4) เพื่อให้เกิดความรู้ และวิธีการที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพแก่แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในชุมชน และแกนนำครอบครัว ตลอดจนผู้ปกครองเด็ก และผู้สูงอายุ (5) เพื่อสนับสนุนองคความรูที่ถูกตอง ปรับทัศนคติ ใหมีพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพที่ดี

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการมหกรรมตลาดนัดสุขภาพสู่ชุมชนตำบลปะแต จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 60-4149-02-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลปะแต )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด