กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเทพา


“ โครงการ อย.น้อยในโรงเรียนบ้านเทพา ”

ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายอรุณ คานยู

ชื่อโครงการ โครงการ อย.น้อยในโรงเรียนบ้านเทพา

ที่อยู่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 มิถุนายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ อย.น้อยในโรงเรียนบ้านเทพา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเทพา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ อย.น้อยในโรงเรียนบ้านเทพา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ อย.น้อยในโรงเรียนบ้านเทพา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 มิถุนายน 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,210.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเทพา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการ อย.น้อยในโรงเรียนบ้านเทพา เกิดขึ้นตามแนวทางของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาขึ้นเพื่อช่วยเหลือนักเรียน ครอบครัว ชุมชน ด้วยการให้ความรู้การบริโภคอย่างเหมาะสมปลอดภัยและจากการสังเกตพฤติกรรมในการเลือก รับประทานอาหาร หรือการเลือกซื้อใช้ผลิตภัณฑ์ประเภทยาและเครื่องสำอางของเยาวชนที่อยู่ในวัยเรียนซึ่งส่วนใหญ่มักมีพฤติกรรมในการเลือกซื้อ หรือใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีสีสันต้องตา หรือกำลังอยู่ในช่วงของการโฆษณา ตามสื่อประเภทต่าง ๆ โดยมิได้คำนึงถึงประโยชน์ อันตราย หรือความปลอดภัยสักเท่าไร พฤติกรรมดังกล่าวนี้อาจเกิดจากหลายสาเหตุ ตัวอย่างเช่น วิถีการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนไปจากเดิมเป็นวิถีชีวิตแบบรีบเร่ง และเอาตัวรอดมากขึ้น มีสื่อประเภทต่าง ๆ เข้ามามีบทบาทในสังคมปัจจุบันเพิ่มมากขึ้นทำให้ผู้บริโภคอาจหลงเชื่อจนกระทั่งตัดสินใจเลือกซื้อเลือกใช้ผลิตภัณฑ์นั้น ๆ ซึ่งต่างจากในอดีตประชากรมักดำรงชีวิตแบบเอื้ออาทรซึ่งกันและอีกทั้งการใช้ผลิตภัณฑ์ด้านต่างๆในการผลิต ยังคงใช้วัสดุจากธรรมชาติเป็นส่วนประกอบมากกว่า รวมถึงการเอารัดเอาเปรียบของผู้ผลิตที่มีผู้บริโภคด้วยกลวิธีต่าง ๆ ของผู้ผลิตยังไม่มากนักเช่นปัจจุบัน นอกจากนี้กลุ่มเยาวชน ที่อยู่ในวัยเรียนโดยเฉพาะผู้เรียนในระดับประถมศึกษาปีที่ 1 – 6  อายุระหว่าง 7 – 12 ปี ถือว่าเป็นกลุ่มผู้บริโภคอีกกลุ่มหนึ่งที่มีความสำคัญหากกลุ่มเยาวชนดังกล่าวไม่ได้รับความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ประเภทต่าง ๆ ซึ่งผู้ผลิตได้ผลิตออกมาเพื่อสนองความต้องการของผู้บริโภคอย่างหลากหลายมีทั้งผลิตภัณฑ์ที่ถูกต้องตามมาตรฐานที่กำหนดแต่ก็ยังคงมีผลิตภัณฑ์ที่ผู้ผลิตได้แอบอ้างสรรพคุณมีการโฆษณาชวนเชื่อเกินความเป็นจริง หรืออาจมีผลิตภัณฑ์ที่มีสารปนเปื้อนเป็นอันตราย ปะปนอยู่เป็นจำนวนมากพร้อมกันนี้ควรให้ความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร และการอ่านดูข้อมูลโภชนาการจากฉลากผลิตภัณฑ์ควบคู่ไป ด้วยหากเยาวชนกลุ่มดังกล่าวมีความรู้และมีทักษะในการเลือกซื้อใช้ผลิตภัณฑ์ประเภทต่าง ๆ จะทำให้สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันทำให้ปัญหาด้านสุขภาพหรือปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ลดน้อยลงได้พร้อมทั้งให้ความรู้ให้คำปรึกษาแก่บุคคลในครอบครัวหรือบุคคลทั่วไปได้อย่างมั่นใจ นักเรียนแกนนำ อย.น้อยในโรงเรียนบ้านเทพา จึงเกิดความสนใจที่จะแก้ปัญหาดังกล่าวจึงได้ดำเนินการจัดกิจกรรมอย.น้อยโรงเรียน อย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด พร้อมทั้งขยายการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ไปยังเครือข่ายโรงเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนด้วย เพื่อช่วยในการแก้ปัญหาดังกล่าวข้างต้นจึงจัดทำ กิจกรรมอย่างหลากหลายเพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ และเกิดทักษะในการเลือกซื้อใช้อาหารยาและเครื่องสำอางที่เป็นประโยชน์ไม่ส่งผลเสียต่อสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม อีกประการหนึ่งเพื่อเป็นการส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนแกนนำ อย.น้อย ได้รู้จักการทำงานเป็นทีมการวางแผนในการปฏิบัติงาน กล้าแสดงออกในการเผยแพร่ความรู้แก่นักเรียนเครือข่าย อย.น้อย ผู้แทนเครือข่ายผู้ปกครอง และประชาชนทั่วไปอย่างมั่นใจ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกทักษะในเรื่องการเลือกบริโภคอาหารและมีความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อหรือเลือกใช้ผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับอาหารและยาประเภทต่าง ๆ
  2. เพื่อจัดกิจกรรมให้ความรู้และทักษะในการตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหารด้วยชุดทดสอบ พิจารณาสังเกตสารปนเปื้อนหรือสารอันตรายโดยสังเกตจากลักษณะทางกายภาพของอาหารและเครื่องสำอางได้นำภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
  3. เพื่อให้นักเรียนแกนนำสามารถนำไปเผยแพร่ให้ความรู้แก่เพื่อนนักเรียนในโรงเรียนของตนเองและใช้ในชีวิตประจำวันได้
  4. เพื่อให้นักเรียน ครู พ่อค้า แม่ค้า ผู้ปกครอง และชุมชนได้รับอาหารที่สะอาดปลอดภัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมย่อย อบรมให้ความรู้เรื่องการใช้ชุดทดสอบสารปนเปื้อนในอาหาร
  2. กิจกรรมย่อยสำรวจ ตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหารด้วยชุดทดสอบ
  3. กิจกรรมย่อยประชุมประเมินผลสรุปรายงานผลโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมย่อย อบรมให้ความรู้เรื่องการใช้ชุดทดสอบสารปนเปื้อนในอาหาร

วันที่ 25 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้เรื่องการใช้ชุดทดสอบสารปนเปื้อนในอาหาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อบรมให้ความรู้เรื่องการใช้ชุดทดสอบสารปนเปื้อนในอาหาร

 

50 0

2. กิจกรรมย่อยสำรวจ ตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหารด้วยชุดทดสอบ

วันที่ 25 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

สำรวจ ตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหารด้วยชุดทดสอบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สำรวจ ตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหารด้วยชุดทดสอบ

 

0 0

3. กิจกรรมย่อยประชุมประเมินผลสรุปรายงานผลโครงการ

วันที่ 30 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

สรุปรายงานผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปรายงานผลโครงการ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกทักษะในเรื่องการเลือกบริโภคอาหารและมีความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อหรือเลือกใช้ผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับอาหารและยาประเภทต่าง ๆ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการสามารถเลือกบริโภคอาหารและมีความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อหรือเลือกใช้ผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับอาหารและยาประเภทต่าง ๆ
0.00

 

2 เพื่อจัดกิจกรรมให้ความรู้และทักษะในการตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหารด้วยชุดทดสอบ พิจารณาสังเกตสารปนเปื้อนหรือสารอันตรายโดยสังเกตจากลักษณะทางกายภาพของอาหารและเครื่องสำอางได้นำภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะในการตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหารด้วยชุดทดสอบ พิจารณาสังเกตสารปนเปื้อนหรือสารอันตรายโดยสังเกตจากลักษณะทางกายภาพของอาหารและเครื่องสำอางได้นำภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ได้ร้อยละ 80
0.00

 

3 เพื่อให้นักเรียนแกนนำสามารถนำไปเผยแพร่ให้ความรู้แก่เพื่อนนักเรียนในโรงเรียนของตนเองและใช้ในชีวิตประจำวันได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 ของนักเรียนแกนนำ อย.น้อยในโรงเรียนสามารถนำไปเผยแพร่ให้ความรู้แก่เพื่อนนักเรียนในโรงเรียนของตนเองและใช้ในชีวิตประจำวันได้
0.00

 

4 เพื่อให้นักเรียน ครู พ่อค้า แม่ค้า ผู้ปกครอง และชุมชนได้รับอาหารที่สะอาดปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของนักเรียน ครู พ่อค้า แม่ค้า ผู้ปกครอง และชุมชนได้รับอาหารที่สะอาดปลอดภัย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกทักษะในเรื่องการเลือกบริโภคอาหารและมีความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อหรือเลือกใช้ผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับอาหารและยาประเภทต่าง ๆ (2) เพื่อจัดกิจกรรมให้ความรู้และทักษะในการตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหารด้วยชุดทดสอบ พิจารณาสังเกตสารปนเปื้อนหรือสารอันตรายโดยสังเกตจากลักษณะทางกายภาพของอาหารและเครื่องสำอางได้นำภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา (3) เพื่อให้นักเรียนแกนนำสามารถนำไปเผยแพร่ให้ความรู้แก่เพื่อนนักเรียนในโรงเรียนของตนเองและใช้ในชีวิตประจำวันได้ (4) เพื่อให้นักเรียน  ครู  พ่อค้า  แม่ค้า  ผู้ปกครอง  และชุมชนได้รับอาหารที่สะอาดปลอดภัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมย่อย อบรมให้ความรู้เรื่องการใช้ชุดทดสอบสารปนเปื้อนในอาหาร (2) กิจกรรมย่อยสำรวจ ตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหารด้วยชุดทดสอบ (3) กิจกรรมย่อยประชุมประเมินผลสรุปรายงานผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ อย.น้อยในโรงเรียนบ้านเทพา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอรุณ คานยู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด