กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวีนอก


“ โครงการอบรมให้ความรู้และดำเนินงานด้านการจัดการขยะเพื่อป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน ”

หมู่ที่ 9 บ้านซองเหนือ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายวรเดช อะหวัง

ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้และดำเนินงานด้านการจัดการขยะเพื่อป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน

ที่อยู่ หมู่ที่ 9 บ้านซองเหนือ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7892-2 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมให้ความรู้และดำเนินงานด้านการจัดการขยะเพื่อป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 9 บ้านซองเหนือ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวีนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้และดำเนินงานด้านการจัดการขยะเพื่อป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้และดำเนินงานด้านการจัดการขยะเพื่อป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 9 บ้านซองเหนือ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7892-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 48,995.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวีนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาเรื่องขยะนับว่าเป็นปัญหาสำคัญทั้งในระดับชุมชนและระดับประเทศ ถือเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญที่เกิดขึ้นจากน้ำมือมนุษย์ ซึ่งมีสาเหตุที่เกี่ยวเนื่องกันในหลายแง่มุม ไม่ว่าจะเป็นพฤติกรรมการบริโภคและการคัดแยกขยะจากต้นทาง การจัดการขยะที่ไม่ได้มาตรฐานก่อให้เกิดมลพิษและไม่นำให้เกิดการนำกลับมาใช้ซ้ำ ปัญหามลพิษและสิ่งแวดล้อม เช่น ปฏิกิริยาเรือนกระจกที่มีสาเหตุจากขยะเทกองที่ปล่อยก๊าซมีเทน ซัลเฟอร์กับคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา ปัญหาขยะในทะเลที่ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมและชีวิตความเป็นอยู่มนุษย์และสัตว์ การจัดการขยะของประเทศไทย รัฐบาลได้ดำเนินการแก้ไขปัญหาขยะโดยใช้แนวคิด 3 R คือ Reduce Reuse และ Recycle โดยจัดทำ Roadmap จัดการขยะมูลฝอยของประเทศ พ.ศ. 2559-2564 เพื่อเป็นกรอบและทิศทางการดำเนินการแก้ไขปัญหาการจัดการขยะ โดยวางโครงสร้างให้ภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชนร่วมกันจัดการปัญหา แบ่งเป็น 4 มาตรการ คือ 1. แก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยเก่าตกค้างสะสม 2. สร้างรูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยใหม่ 3. วางระเบียบและมาตรการการบริหารจัดการขยะมูลฝอย 4. การสร้างวินัยคนในชาติ         นอกจากนี้ขยะเป็นปัญหาและสาเหตุหนึ่งที่ก่อให้เกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เทศบาลตำบลนาทวีนอก เนื่องจากสาเหตุมาจากการทิ้งขยะลงข้างถนนหนทาง ทิ้งขยะไม่เป็นที่ ไม่มีการคัดแยกขยะ รวมถึงขาดความรู้เกี่ยวกับการนำขยะกลับมาใช้ใหม่ ประชาชนส่วนใหญ่ละเลยและไม่เห็นคุณค่าของขยะ ซึ่งหากประชาชนมีความรู้และมีความตระหนักที่จะนำขยะมาคัดแยกให้ถูกวิธี ก็จะสามารถสร้างประโยชน์ได้ และนำกลับมาใช้หมุนเวียนเข้ากระบวนการผลิตเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่อีกครั้ง         คณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ 9 ได้ตระหนักถึงปัญหาเกี่ยวกับขยะ จึงได้จัดทำโครงการ “อบรมให้ความรู้และดำเนินงานด้านการจัดการขยะเพื่อการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน ปีงบประมาณ 2562” นำร่องในพื้นที่หมู่ที่ 9 ตำบลนาทวี เพื่อสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะ และป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อที่เกิดจากปัญหาขยะ ตลอดจนสร้างเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลกในชุมชนขึ้น เพื่อเป็นต้นแบบด้านการจัดการขยะและป้องกันควบคุมโรคติดต่อของเทศบาลตำบลนาทวีนอกต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ “การจัดการขยะ เพื่อป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน”

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. แต่งตั้งคณะทำงาน / 2. ประชุมเชิงปฏิบัติการ / 3. รณรงค์และประชาสัมพันธ์ / 4. การรับสมัครและสร้างเครือข่าย / 5. ศึกษาดูงานการคัดแยกขยะต้นแบบ จ.พัทลุง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 130
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อัตราที่เกิดที่มียุง และแมลงเป็นพาหะลดลง
  2. เป็นหมู่บ้านต้นแบบด้านการจัดการขยะเพื่อป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ “การจัดการขยะ เพื่อป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน”
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ “การจัดการขยะ เพื่อป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน”
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 130
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 130
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ        “การจัดการขยะ เพื่อป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน”

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. แต่งตั้งคณะทำงาน / 2. ประชุมเชิงปฏิบัติการ / 3. รณรงค์และประชาสัมพันธ์ / 4. การรับสมัครและสร้างเครือข่าย / 5. ศึกษาดูงานการคัดแยกขยะต้นแบบ จ.พัทลุง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมให้ความรู้และดำเนินงานด้านการจัดการขยะเพื่อป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7892-2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวรเดช อะหวัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด