กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและป้องกันโรคไข้มาลาเรีย
รหัสโครงการ 60-L4123-1-09
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทรายแก้ว
วันที่อนุมัติ 17 มีนาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2560 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 86,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายฮารีส หะยีดอรอนิง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.271,101.352place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 4104 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

ระบุ

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคมาลาเรีย ถือเป็นโรคติดต่อสำคัญ และเป็นหัญหาสาธารณสุขที่ทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย จต้องดำเนินการแก้ไขอย่างเร่งด่วน การแพร่เชื่อโรคมาลาเรียส่วนใหญ่เกิดในพื้นที่ที่มีบริเวณเป็นภูเขาสูง ป่าทึบ ส่วนยางพาราแหล่งน้ำธรรมชาติหรือเขาชันลาดเอียงมีลำธาร ขึ้นอยู่กับชนิดของเชื้อ ซึ่งพื้นที่ดังกล่าวเอื้อต่อการเกิดโรค ซึ่งพบว่ามีถึง 22 จังหวัด ที่มีผู้ป่วยมาลาเรียจำนวนมาก โดยข้อมูลผู้ป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรียตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม - 30 กันยายน 2557 สำนักงานป้องกันและควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา ได้รับรายงานผู้ป่วยโรคมาลาเรีย จำนวน 2,231 รายอัตราป่วย 46.43 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต พบผู้ป่วยเพศชายมากกว่าเพศหญิง อัตราส่วนเพศชายต่อหญิงเท่ากับ 1.50:1 กลุ่มอายุที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ กลุ่มอายุ 5-9 ปี (62.99) รองลงมาคือ กลุ่มอายุ 10-14 ปี (56.56) และกลุ่มอายุ 15-24 ปี (51.76) อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุด 3 อันดับแรก คือ เกษตรกร (ร้อยละ 44.46) รองลงมาคือนักเรียน (ร้อยละ 33.93) และเป็นเด็กในผู้ปกครอง (ร้อยละ 10.94) เมื่อเปรียบเทียบข้อมูลผู้ป่วยเดือน กันยายน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรีย

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้มาลาเรีย

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

ขั้นเตรียมการ 1. เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ 2. วิเคราะห์พื้นที่ระบาดและพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค 3. ประชุมคณะทำงาน เพื่อชี้แจงโครงการ กำหนดกิจกรรมและมอบหมายหน้าที่ในการดำเนินงาน รวมทั้งจัดทำแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง และป้องกันโรคไข้มาลาเรีย 4. ดำเนินงานตามแผน ขั้นดำเนินการ - กิจกรรมพ่อนหมอกควัน และพ่นสารเคมีติดฝาผนัง ในพื้นที่รับผิดชอบ โรงเรียน และมัสยิด ปีละ 3 ครั้ง (ช่วงก่อนการระบาด และช่วงระบาดของโรค) ขั้นสรุปผลและรายงาน 1. ติดตามและสรุปผลการดำเนินโครงการ 2. รวบรวมผลการปฏิบัติงานดังนี้ - จำนวนหลังคาเรือนในพื้นที่รับผิดชอบ ได้รับการพ่นหมอกควัน และพ่นสารเคมี ติดฝาผนัง - จำนวนโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในพื้นที่รับผิดชอบ ได้รับการพ่นหมอกควันและพ่นสารเคมีติดฝาผนัง - จำนวนมัสยิดในพื้นที่รับผิดชอบ ได้รับการพ่นหมอกควันและพ่นสารเคมีติดฝาผนัง

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรีย
  2. ประชาชนสามารถเผ้าระวัง และป้องกันการเกิดโรคได้
  3. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับ องค์กรชุมชน และประชาชนทั่วไป ตระหนักถึงความสำคัญในการเฝ้าระวัง และป้องกันโรคในชุมชน และให้ความร่วมมือสนับสนุนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 เม.ย. 2560 14:22 น.