กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำผุด


“ โครงการเสริมสร้างพลังอำนาจผู้ป่วยโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูงเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน ”

ตำบลน้ำผุด อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางวรุณี ปกติง

ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างพลังอำนาจผู้ป่วยโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูงเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน

ที่อยู่ ตำบลน้ำผุด อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-L5311-1-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมสร้างพลังอำนาจผู้ป่วยโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูงเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลน้ำผุด อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำผุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างพลังอำนาจผู้ป่วยโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูงเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมสร้างพลังอำนาจผู้ป่วยโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูงเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลน้ำผุด อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L5311-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำผุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากรายงานแผนพัฒนา สุขภาพแห่งชาติในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที 11 (พ.ศ.2555-2559) กระทรวง สาธารณสุข มีรายละเอียดดังนี้ สถานะสุขภาพคนไทยอายุคาดเฉลี่ยของคนไทยยืนยาวขึ้น ผู้ชายจะมีอายุคาดเฉลี ย 69.1 ปี ใน พ.ศ. 2553 เพิ่มเป็น 71.1 ปี ใน พ.ศ. 2563 และผู้หญิงจะมีอายุคาดเฉลี ย 75.7 ปี เพิ่มเป็น 77 ปี การสูญเสียปีสุขภาวะ ผู้ชายไทยสูญเสียปีสุขภาวะสูงสุดจากการติดสุรา อุบัติเหตุจราจร และ โรคหลอดเลือด สําหรับผู้หญิงไทยมีการสูญเสียปีสุขภาวะสูงสุดจาก โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง และภาวะซึมเศร้า พบว่าสาเหตุหลักของการสูญเสียปีสุขภาวะ ทั้งในผู้ชายและผู้หญิงไทย มาจากโรคไม่ติดต่อและโรคเรื้อรังสาเหตุการตาย จากการคาดประมาณแนวโน้มการตายด้วยโรคต่างๆ พบว่า ในอีก 10 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2562) อุบัติเหตุจราจร มะเร็งตับ และหลอดเลือดสมอง เป็นสาเหตุการตายที พบสูงสุดในผู้ชายไทย ขณะที่ เบาหวาน หลอดเลือดสมอง และมะเร็งตับ เป็นสาเหตุการตายที่ พบมากที สุดในผู้หญิงไทย จะเห็นได้ว่า โรคไม่ติดต่อโดยเฉพาะกลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือด มะเร็ง และเบาหวาน เป็นปัญหาสําคัญที่ทําให้คนไทย เสียชีวิตเพิ่มขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับสถานการณ์การเจ็บป่วยที่สําคัญของคนไทยที พบว่าแนวโน้มการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังที่ป้องกันได้ เพิ่มขึ้นมา สถานการณ์ความรุนแรงของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังจากวิถีชีวิตที่ เปลี่ยนแปลงไป ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ อย่างยิ่งพฤติกรรมเสี่ยง ทีสําคัญจากการบริโภคหวาน มัน เค็ม มาก บริโภคผักและผลไม้น้อย สูบบุหรี่ ดื่มสุรา ขาดการออกกําลังกาย เกิดความเครียดและไม่สามารถจัดการกับ อารมณ์ได้ ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงหลักที สําคัญของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังทีซึ่งประเทศไทยก็กําลังเผชิญกับ ปัญหาทีวิกฤตจากข้อมูลเชิงประจักษ์พบคนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2551 – 2552 มีความชุก ของโรคเบาหวาน ร้อยละ 6.9 โรคความดันโลหิตสูง 21.4 และภาวะไขมันในเลือดสูง ร้อยละ 19.4 เกิดการเจ็บป่วยจากโรคมะเร็ง หัวใจ หลอดเลือดสมอง เบาหวาน ความดันโลหิตสูงเข้ารับการรักษาเป็นผู้ป่วยใน ในช่วง พ.ศ. 2548 – 2551 เพิ่มขึน 1.2 – 1.6 เท่า เป็น 505 , 684, 845 และ 1,149 ต่อแสนประชากร ตามลําดับ หากไม่สามารถหยุดยั้งปญหาได้ จะทําให้เกิดการเจ็บป่วย มีภาวะแทรกซ้อน พิการ และเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ปี๒๕๕๙ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งไหม้มีผู้ป่วยโรคเบาหวานทั้งหมด๘๓ราย มีภาวะแทรกซ้อน ๔๓ รายรักษาที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งไหม้ ๓๒รายไม่มีภาวะแทรกซ้อน มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมด ๒๘๐ราย มีภาวะแทรกซ้อน ๓๕ รายรับการรักษาที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งไหม้ ๑๒๑รายไม่มีภาวะแทรกซ้อน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งไหม้ ได้เล็งเห็นความสำคัญและตระหนักสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูงจึงได้จัดทำโครงการเสริมสร้างพลังอำนาจผู้ป่วยโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจสามารถดูแลสุขภาพตนเองและผู้อื่นได้เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรค

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูง มีความรู้และมีแนวทางในการปฏิบัติในการดูแลตนเองป้องกันการเกิดภาวะโรคแทรกซ้อน
  2. 2. เพื่อป้องกันการเกิดภาวะโรคแทรกซ้อน ทางตา ไต เท้า

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 120
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ผู้ป่วยโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคความดันโลหิตสูง - เบาหวาน 2.ผู้ป่วยโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูง มีอัคราการเกิดภาวะแทรกซ้อนลดลง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมเสริมสร้างพลังอำนาจผู้ป่วยโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูงเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน

    วันที่ 19 สิงหาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดอบรมเสริมสร้างพลังอำนาจผู้ป่วยโรคเบาหวาน - ความดันโลหิตสูง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน  วันที่  19 - 20 สิงหาคม 2560  ณ  อบต.น้ำผุด ผู้เข้าร่วมเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูง  จำนวน  120  คน การประเมินผลพบว่าผู้ป่วยโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูง มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อน อยู่ในระดับสูงจำนวน  72  คน คิดเป็นร้อยละ 60  ไม่มีผู้มีความรู้ระดับต่ำจากการทำแบบทดสอบก่อน - หลังการอบรม  และจากโปรแกรม  HDC ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี  ร้อยละ 53.15  ผู็ป่วยโรคเบาหวาน สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี  ร้อยละ  6.33 

     

    120 120

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    จัดอบรมเสริมสร้างพลังอำนาจผู้ป่วยโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน  ผู้เข้าร่วมโครงการมีความเข้าใจในการป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนอยู่ในระดับดีจำนวนมากและจากโปรแกรม HDC ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี ร้อยละ 53.15  ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี  ร้อยละ 6.33

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูง มีความรู้และมีแนวทางในการปฏิบัติในการดูแลตนเองป้องกันการเกิดภาวะโรคแทรกซ้อน
    ตัวชี้วัด : 1. ผู้ป่วยโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูงมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคความดันดลหิตสูง-เบาหวาน

     

    2 2. เพื่อป้องกันการเกิดภาวะโรคแทรกซ้อน ทางตา ไต เท้า
    ตัวชี้วัด : 2. ผู้ป่วยโรคเบาหวาน- โรคความดันโลหิตสูง เสามารถควบคุมค่าความดันโลหิต-เบาหวานได้ร้อยละ40

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 120
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูง มีความรู้และมีแนวทางในการปฏิบัติในการดูแลตนเองป้องกันการเกิดภาวะโรคแทรกซ้อน (2) 2. เพื่อป้องกันการเกิดภาวะโรคแทรกซ้อน ทางตา ไต เท้า

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเสริมสร้างพลังอำนาจผู้ป่วยโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูงเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 60-L5311-1-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางวรุณี ปกติง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด