กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน


“ โครงการสร้างสายใยรัก เพื่อลูกให้ลูกรักมีพัฒนาการที่ดี ”

ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายชยธร แก้วลอย

ชื่อโครงการ โครงการสร้างสายใยรัก เพื่อลูกให้ลูกรักมีพัฒนาการที่ดี

ที่อยู่ ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2562-L5221-1-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2562 ถึง 31 ตุลาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างสายใยรัก เพื่อลูกให้ลูกรักมีพัฒนาการที่ดี จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างสายใยรัก เพื่อลูกให้ลูกรักมีพัฒนาการที่ดี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างสายใยรัก เพื่อลูกให้ลูกรักมีพัฒนาการที่ดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 2562-L5221-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2562 - 31 ตุลาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันพัฒนาการของเด็กไทยโดยเฉพาะความฉลาดทางสติปัญญา (IQ) มีแนวโน้มลดลง ปัจจัยที่ส่งผลต่อสติปัญญาเด็ก ได้แก่ ภาวะทุพโภชนาการ เช่น การขาดธาตุไอโอดีน โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กของหญิงตั้งครรภ์ การขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิด ทารกแรกเกิดน้ำหนัก น้อยกว่า 2,500 กรัม โรคถ่ายทอดทางพันธุกรรม และการอบรมเลี้ยงดู การพัฒนาสุขภาพเด็กปฐมวัย ยังต้องเร่งรัดกลยุทธ์ กลวิธี อีกหลายประการ รวมทั้งการกระตุ้นพัฒนาการเด็กแรกเกิดถึง 3 ปี ซึ่งเซลล์สมองเจริญเติบโตร้อยละ 80 เป็นช่วงวัย “หน้าต่างแห่งโอกาส” ของการกระตุ้นและฝึกทักษะ ให้ได้รับการกระตุ้นทางประสาทสัมผัสทั้ง 5 ตา หู จมูก ลิ้น และกาย ให้ได้เห็นได้ยิน ได้กลิ่น ได้รส และได้สัมผัสตั้งแต่แรกเกิด ด้วยความรักจากแม่จะช่วยให้สานใยประสาทเซลล์สมองเพิ่มมากขึ้น เด็กจะฉลาด เรียนรู้ได้เร็ว มีชีวิตชีวา รู้เหตุผล และเติบโตอย่างมีคุณภาพ “อาหาร”ที่สำคัญที่สุดของเด็กคือ “นมแม่” เด็กที่ดื่มนมแม่จะมีค่าเฉลี่ยระดับเชาว์ปัญญา (IQ) เหนือกว่าเด็กที่ไม่ได้กินนมแม่ 3-10 จุด เมื่อแม่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การโอบกอด สัมผัส อุ้มลูกไว้ในอ้อมอก ส่งเสียง พูดคุย หยอกล้อ เด็กได้รับประสาทสัมผัสประสาททุกด้าน ส่งผลให้พัฒนาการเด็กสมวัย และฉลาดมากขึ้น กระทรวงสาธารณสุขโดยกรมอนามัย จึงได้จัดทำโครงการสร้างสายใยรักเพื่อให้ลูกรักมีพัฒนาการที่ดีขึ้น โดยเน้นการดูแลเด็กทารก ตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา ในระยะตั้งครรภ์ คลอด หลังคลอด และการเลี้ยงดูบุตรแรกเกิดถึง 5 ปี โดยชุมชนมีส่วนร่วมการพัฒนาคุณภาพบริการ งานอนามัยแม่และเด็ก เพื่อมุ่งหวังให้เด็กเจริญเติบโตและมีพัฒนาการสมวัยต่อไป จากผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2561 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าบอน พบว่าในตำบลท่าบอนมีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว อย่างน้อย 6 เดือนสำเร็จไม่ถึงร้อยละ 50 เนื่องจากประชาชนในชุมชนยังขาดทัศนคติ ความรู้พื้นฐานถึงประโยชน์ของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ รวมถึงสภาพเศรษฐกิจในชุมชนไม่เอื้ออำนวยเป็นอุปสรรคต่อการประกอบอาชีพ ซึ่งจะส่งผลในอนาคตต่อเด็ก และอนาคตของสังคมไทยจากข้อมูลดังกล่าวทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าบอนต้องการพัฒนาคุณภาพการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว อย่างน้อย 6 เดือนให้ประสบผลสำเร็จมากกว่าที่เป็นอยู่ จึงได้จัดทำ โครงการสร้างสายใยรักเพื่อให้ลูกรักมีพัฒนาการที่ดีต่อเนื่องขึ้น เพื่อส่งเสริมทรัพยากรอันทรงคุณค่า และเป็นอนาคตของชาติ ให้ได้รับการเลี้ยงดูให้เจริญเติบโต และพัฒนาการสมวัย ทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้มารดาหลังคลอดได้รับการเยี่ยมบ้านที่มีคุณภาพครบ ตามเกณฑ์
  2. เพื่อให้มารดาหลังคลอดเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว อย่างน้อย 6 เดือน
  3. เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัยตามเกณฑ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. รณรงค์เลี้ยงลูกด้วยนมแม่และการตรวจพัฒนาเด็ก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 20
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 20
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. คาดว่าประชาชนในตำบลท่าบอน มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่มากขึ้น
  2. คาดว่าประชาชนในตำบลท่าบอนสามารถลดค่าใช้จ่ายในการซื้อนมผสมลง ช่วยให้เศรษฐกิจในครอบครัวดีขึ้น
  3. คาดว่าเด็กมีพัฒนาการสมวัยตามเกณฑ์

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. รณรงค์เลี้ยงลูกด้วยนมแม่และการตรวจพัฒนาเด็ก

วันที่ 20 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  • จัดหาอุปกรณ์กระตุ้นพัฒนาการเด็กช่วงวัยแรกเกิดจนถึงอายุ 60 เดือนเพื่อให้ผู้ดูแลเด็กยืมกลับไปกระตุ้นพัฒนาการที่บ้าน
  • ตรวจติดตามพัฒนาการเด็กอายุ 9,18,3042 และ60 เดือน ในวันคลินิกอย่างต่อเนื่อง -ติดป้ายไวนิลรณรงค์เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และการตรวจพัฒนาการหมู่1-10 ต.ท่าบอน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนในตำบลท่าบอน มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่มากขึ้น
  2. ประชาชนในตำบลท่าบอนสามารถลดค่าใช้จ่ายในการซื้อนมผสมลง ช่วยให้เศรษฐกิจในครอบครัวดีขึ้น
  3. เด็กมีพัฒนาการสมวัยตามเกณฑ์

 

20 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้มารดาหลังคลอดได้รับการเยี่ยมบ้านที่มีคุณภาพครบ ตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : มารดาหลังคลอดได้รับการเยี่ยมหลังคลอด 2 ครั้งตามเกณฑ์ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85
20.00 18.00

การเยี่ยมหญิงหลังคลอด 2 ครั้งตามเกณฑ์ ตั้งแต่เดือนเมษายน – เดือนตุลาคม ปี 2562 หมู่1-หมู่10 ต.ท่าบอน อ.ระโนด จ.สงขลา พบว่าหญิงหลังคลอดได้รับการเยี่ยมหลังคลอดตามเกณฑ์  ร้อยละ 90

2 เพื่อให้มารดาหลังคลอดเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว อย่างน้อย 6 เดือน
ตัวชี้วัด : เด็กกินนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
20.00 14.00

เด็กกินนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ตั้งแต่เดือนเมษายน – เดือนตุลาคม ปี2562 หมู่1-หมู่10 ต.ท่าบอน อ.ระโนด จ.สงขลา พบว่าเด็กกินนมแม่อย่างเดียวครบ 6 เดือน ร้อยละ 70

3 เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัยตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : เด็กอายุ 9,18,30,42 และ60 เดือน มีพัฒนาการสมวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
20.00 20.00

เด็กอายุ 9,18,30,42 และ60 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2561 – เดือนกันยายน ปี2562 หมู่1-หมู่10 ต.ท่าบอน อ.ระโนด จ.สงขลา พบว่าเด็กอายุ 9,18,30,42 และ60 เดือน  ที่ได้รับการตรวจพัฒนาการ มีพัฒนาการล่าช้าและได้รับการกระตุ้น ร้อยละ30 และ มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 99.56

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 20 20
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 20 20
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มารดาหลังคลอดได้รับการเยี่ยมบ้านที่มีคุณภาพครบ ตามเกณฑ์ (2) เพื่อให้มารดาหลังคลอดเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว อย่างน้อย 6 เดือน (3) เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัยตามเกณฑ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์เลี้ยงลูกด้วยนมแม่และการตรวจพัฒนาเด็ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างสายใยรัก เพื่อลูกให้ลูกรักมีพัฒนาการที่ดี จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2562-L5221-1-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายชยธร แก้วลอย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด