กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาขาว


“ โครงการการจัดการตนเองของผู้ป่วยความดันดลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ โดยชุมชน ”

ตำบลเขาขาว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาขาว

ชื่อโครงการ โครงการการจัดการตนเองของผู้ป่วยความดันดลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ โดยชุมชน

ที่อยู่ ตำบลเขาขาว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ L-1527-01-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการจัดการตนเองของผู้ป่วยความดันดลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ โดยชุมชน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาขาว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการจัดการตนเองของผู้ป่วยความดันดลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ โดยชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการจัดการตนเองของผู้ป่วยความดันดลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ โดยชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาขาว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ L-1527-01-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2562 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถารณการณ์ของโรคเรื้อรังที่มีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว เนื่องจากสภาวะความเป็นอยู่และวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป ทำให้ผุ้ป่วยกลุ่มนี้มีจำนวนมากขึ้น โดยเฉพาะโรคความดันโลหิตสุงเป็นโรคเรื้อรังโรคหนึ่งที่เป็นปัญหา สำคัญในศตวรรษที่ 21 การดำเนินของโรคมีปัญหาซับซ้อนทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ สังคม นำไปสู่การเกิดภาวะแทรกซ้อนที่เรื้อรังและรุนแรงได้ อาทิเช่น โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง ไตวายเรื้อรัง รวมทั้งทำให้เกิดความสูญเสียทรัพยากรในการดูแลรักษา มีผลกระทบต่อผู้ป่วยเองและผุ้ดูแลมากที่สุดโรคหนึ่ง หากไม่สามารถควบคุมภาวะแทรกซ้อนให้อยู่ในภาวะปกติได้ ก็ส่งผลให้เกิดปัญหาที่เรื้อรังต่อไปได้ ข้อมูลผุ้ป่วยเบาหวานจังหวัดตรัง ปี 2559-2561 (รายงานฐานข้อมูงจังหวัด 43 แฟ้ม) จำนวน 56,922 59,019 และ 61,910 คนตามลำดับ ซึ่งแนวโน้มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ และเปรียบเทียบระหว่างปี 2559 ถึง 2561 พบว่าผุ้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่สามรถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีมีจำนวน 16,905 19,174 และ 22,315 คนตามลำดับ คิดเป้นร้อยละ 29.70 32.49 และ 36.04 ตามลำดับ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นแต่ยังคุมได้ในระดับที่น้อยอยุ่ จากสถารการณ์ที่ผู้ป่วยไม่สามรถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ส่งทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนโรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง ไตวายเรื้อรัง เพิ่มขึ้นทุกปี และส่งผลเสียต่อผู้ป่วยทั้งด้านร่างกายและจิตใจรวมถึงขากสมรรถภาพในการประกอบอาชีพด้วย โรงพยาบาส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาขาว (รายงานข้อมูลจังหวัด 43 แฟ้ม เมื่อ 31 มกราคม 2562 ) พบว่าจำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมด จำนวน 422 คน ผู้ป่วยที่ควบคุมระดับความดันดลหิตไม่ได้ จำนวน 73 คน คิดเป็นร้อยละ 17.28 จากการวิเคราะห์ข้อมูลที่ผู้ป่วยไม่สามรรควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ ส่งผลทำให้เกิดภาวะแทรกดังกล่าว ส่งผลเสียต่อผู้ป่วยทั้งด้านร่างกายและจิตใจ รวมถึงขาดสมรรถภาพในการประกอบอาชีพด้วย ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาขาว จึงจัดทำโครงการจัดการตนเองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้โดยชุมชน ขึ้นเพื่อเฝ้าระวังและป้องกันภาวะแทรกซ้อนดังกล่าว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงมีความรู้ในการดูแลตนเอง และการป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน
  2. เพื่อให้ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจติดตามความดันโลหิตสูง
  3. เพื่อให้แกนนำ/ผู้ดูแลมีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้ในการดูแลตนเองเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผุ้ป่วยความดันโลหิตสูง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 80
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในพื้นที่มีความรุ้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ ของตนเอง เฝ้าระวังควบคุมเบาหวานได้ตามเกณฑ์ 2.ลดอัตราการเกิดโรคภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูงได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงมีความรู้ในการดูแลตนเอง และการป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ของผุ้ป่วยความดันโลหิตสูงมีความรู้ในการดูแลตนเอง และการป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจติดตามความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจติดตามความดันโลหิต
0.00

 

3 เพื่อให้แกนนำ/ผู้ดูแลมีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ของผู้เข้าร่วมโครงการ และแบบประเมินความรู้ของผู้ป่วยเบาหวาน ก่อน หลัง การอบรม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 80
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงมีความรู้ในการดูแลตนเอง และการป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน (2) เพื่อให้ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจติดตามความดันโลหิตสูง (3) เพื่อให้แกนนำ/ผู้ดูแลมีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้ในการดูแลตนเองเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผุ้ป่วยความดันโลหิตสูง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการจัดการตนเองของผู้ป่วยความดันดลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ โดยชุมชน จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ L-1527-01-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาขาว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด