กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน โรคจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรมลำใหม่ ”
ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำใหม่




ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน โรคจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรมลำใหม่

ที่อยู่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L4141-01-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน โรคจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรมลำใหม่ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน โรคจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรมลำใหม่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน โรคจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรมลำใหม่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62-L4141-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การประกอบอาชีพเกษตรกรรมถือเป็นกำลังสำคัญที่เป็นรากฐาน ทางเศรษฐกิจของชาติ การดูแลสุขภาพเกษตรกรจึงเป็นงานสำคัญประการหนึ่ง ซึ่งปัญหาสุขภาพที่สำคัญในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม คืออันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช เนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างแพร่หลายเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรและเกษตรกรส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการใช้สารเคมีฯ ที่ไม่ถูกต้อง ปลอดภัย ทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพทั้งเฉียบพลันและเรื้อรัง อาการแสดงเฉียบพลันมีตั้งแต่ระดับเล็กน้อยจนรุนแรงถึงแก่ชีวิต ขึ้นอยู่กับระดับความเข้มข้น ความเป็นพิษ และปริมาณที่ได้รับ ส่วนอาการเรื้อรังสารเคมีกำจัดศัตรูพืชจะสะสมในระบบต่างๆ ของร่างกายทำให้เกิดความผิดปกติและโรคต่างๆ

        จากข้อมูลตั้งแต่ปี 2559-2561 พบว่าผู้ป่วยที่เข้ารักษาโดยมีสาเหตุจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช จำนวน 4,924 ราย 4,983 ราย และ 4,001 ราย ตามลำดับ เฉลี่ย 4.6 พันคน/ปี และมีจำนวนผู้เสียชีวิตจำนวน 613 ราย 582 ราย และ 520 ราย ตามลำดับ โดยเฉลี่ย 600 คน/ปี ค่ารักษารวม 62.81 ล้านบาท เฉลี่ยราว 22 ล้านบาท/ปี นับเป็นข้อมูลหลักฐานเชิงประจักษ์สะท้อนถึงผลกระทบด้านสุขภาพประชาชนจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่เป็นอันตรายเหล่านี้ ทั้งนี้ยังไม่รวมถึงผลกระทบต่อสุขภาพระยะยาวของประชาชนจากการรับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชทางอ้อมที่ตกค้างและปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อมจนอาจก่อให้เกิดโรคต่างๆ ตามมาได้ ซึ่งจะส่งผลต่อภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลที่ยังไม่สามารถประเมินตัวเลขได้ในอนาคต

        จากการสำรวจพบว่าประชากรในพื้นที่ตำบลลำใหม่ เป็นพื้นที่ที่มีการประกอบอาชีพเกษตรกรเป็นจำนวนมาก คิดเป็นร้อยละ 74.69 ซึ่งเป็นกลุ่มที่จำเป็นต้องได้รับการคัดกรองและ เฝ้าระวังอย่างเร่งด่วน

        จากข้อมูลข้างต้น ทำให้เจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำใหม่ได้ตระหนักและเล็งเห็นปัญหาสุขภาพของเกษตรกรในตำบลลำใหม่ จึงจัดทำ“โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน โรคจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรมลำใหม่”ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับอันตรายและการป้องกันตนเองจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรม
  2. ข้อที่ 2 เพื่อให้เกษตรกรได้รับการตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือด
  3. ข้อที่ 3 เพื่อให้เกษตรกรมีพฤติกรรมป้องกันตนเองจากโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ร้อยละ 80 ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับอันตรายและการป้องกันตนเองจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรมเพิ่มมากขึ้น
  2. ร้อยละ 100 ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด
  3. ร้อยละ 50 ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีการปฏิบัติตนการป้องกันตนเองจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมให้ความรู้

วันที่ 24 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นดำเนินการ
        2.1. ซักประวัติ, ตรวจสุขภาพร่างกายของผู้เข้าร่วมโครงการ         2.2. เจาะเลือดเพื่อตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือด         2.3. จัดอบรมให้ความรู้ เรื่องอันตรายจากการใช้สารเคมีจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรม         2.4. จัดกิจกรรมกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์ และปัญหาของการป้องกันตนเอง จากโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรม         2.5. จัดอบรมให้ความรู้ เรื่องป้องกันตนเองจากโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรม, เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม         2.6. จัดอบรมให้ความรู้และแนวทางการใช้ชีวภาพแทนการใช้สารเคมีในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม         2.7. แจ้งผลเลือดที่เข้าร่วมการเจาะเลือดเพื่อตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือด
        2.7.1. ในกรณีผลเลือดปกติ แนะนำการใช้ชีวภาพแทนสารเคมี         2.7.2. ในกรณีเลือดผิดปกติ จะร่วมวิเคราะห์หาสาเหตุที่ทำให้เลือดผิดปกติ พร้อมทั้งชี้แนะเห็นให้โทษของการใช้สารเคมี แล้วนำไปสู่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้สารเคมีโดยใช้ชีวภาพแทน มีการติดตามสัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง และนัดเจาะเลือดซ้ำอีก  1 เดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ร้อยละ 80 ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับอันตรายและการป้องกันตนเองจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรมเพิ่มมากขึ้น 2.ร้อยละ 100 ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด 3. ร้อยละ 50 ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีการปฏิบัติตนการป้องกันตนเองจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรม

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับอันตรายและการป้องกันตนเองจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับอันตรายและการป้องกันตนเองจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรมเพิ่มมากขึ้น
80.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้เกษตรกรได้รับการตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือด
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด
100.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อให้เกษตรกรมีพฤติกรรมป้องกันตนเองจากโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีการปฏิบัติตนการป้องกันตนเองจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรม
50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับอันตรายและการป้องกันตนเองจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรม (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้เกษตรกรได้รับการตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือด (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้เกษตรกรมีพฤติกรรมป้องกันตนเองจากโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน โรคจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรมลำใหม่ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L4141-01-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำใหม่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด