กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่


“ โครงการอบรมพัฒนาแกนนำนักเรียนด้านสุขภาพ (โภชนาการที่ดี) และ อ.ย. น้อย ในโรงเรียน ”

ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำใหม่

ชื่อโครงการ โครงการอบรมพัฒนาแกนนำนักเรียนด้านสุขภาพ (โภชนาการที่ดี) และ อ.ย. น้อย ในโรงเรียน

ที่อยู่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L4141-01-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมพัฒนาแกนนำนักเรียนด้านสุขภาพ (โภชนาการที่ดี) และ อ.ย. น้อย ในโรงเรียน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมพัฒนาแกนนำนักเรียนด้านสุขภาพ (โภชนาการที่ดี) และ อ.ย. น้อย ในโรงเรียน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมพัฒนาแกนนำนักเรียนด้านสุขภาพ (โภชนาการที่ดี) และ อ.ย. น้อย ในโรงเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62-L4141-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การส่งเสริมสุขภาพเป็นกิจกรรมหนึ่งที่สำคัญและจำเป็นมาก เพราะการมีสุขภาพดีสมบูรณ์แข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษย์ ที่ผู้อื่นไม่สามารถหยิบยื่นให้ได้ จึงเป็นหน้าที่ของทุกคนที่จะต้องแสวงหาและสร้างเสริมให้เกิดกับตนเอง พร้อมทั้งสามารถช่วยเหลือเกื้อกูลต่อผู้อื่นที่อยู่ใกล้ชิดได้ด้วยการปฏิบัติเป็นประจำจนเป็นสุขนิสัย การปลูกฝังให้เด็กและเยาวชนตระหนักถึงความสำคัญของการมีสุขภาพดีจึงเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่ง การกระตุ้นปลูกจิตสำนึกให้เด็กและเยาวชนเกิดการเรียนรู้ สามารถเป็นแบบอย่างที่ดีทางด้านสุขภาพแก่เพื่อนนักเรียนในโรงเรียน เป็นผู้ให้บริการด้านสุขภาพที่เหมาะสม เอาใจใส่ตนเอง มีพลานามัยสมบูรณ์ รักสะอาด ปราศจากโรคปลอดทุกข์ มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดี และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ภายใต้การดำเนินงานตามกระบวนการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพแนวใหม่ ร่วมคิด ร่วมดำเนินการตามแผนกิจกรรมที่กำหนดนำไปสู่การเรียนรู้ในการสร้างสุขภาพ พัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี อันจะนำไปสู่สุขภาวะที่ดีของชุมชนในที่สุด

          จากการดำเนินงานอนามัยโรงเรียน พบว่านักเรียนในเขตตำบลลำใหม่ ทั้ง 5 โรง ดังนี้ ปีการศึกษา 2560 มีภาวะโภชนาการสูงดีสมส่วน ร้อยละ 55.23 โดยเริ่มอ้วน ร้อยละ 2.16 , อ้วน ร้อยละ 2.88 , เตี้ย ร้อยละ9.48 , ค่อนข้างเตี้ย ร้อยละ8.80 และ ในปีการศึกษา 2561 มีภาวะโภชนาการสูงดีสมส่วน ร้อยละ 48.53 ดังนี้ เริ่มอ้วน ร้อยละ 2.03 , อ้วน ร้อยละ 3.38 , เตี้ย ร้อยละ14.44 , ค่อนข้างเตี้ย ร้อยละ11.55 ดังนั้นจะเห็นได้ว่านักเรียนในเขตตำบลลำใหม่ ทั้ง 5 โรง มีภาวะโภชนาการสูงดีสมส่วนลดลง

        โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำใหม่ ได้เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการอบรมพัฒนาแกนนำนักเรียนด้านสุขภาพ(โภนาการที่ดี) และ อ.ย. น้อย ในโรงเรียน เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้และรู้จักเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ และปลอดภัย การออกกำลังกายที่เหมาะสมตามวัย การดูแลสุขภาพเบื้องต้น ซึ่งจะนำไปสู่สุขภาวะที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อให้นักเรียนทราบถึงบทบาทผู้นำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพ(โภนาการที่ดี) และ อ.ย.น้อย
  2. ข้อที่ 2 เพื่อให้นักเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง และสามารถนำไปปฏิบัติในโรงเรียน ครอบครัวและชุมชนได้
  3. ข้อที่ 3 เพื่อให้เกิดชมรมด้านสุขภาพ และอ.ย.น้อย ในโรงเรียนและมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนทราบถึงบทบาทผู้นำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพและ อ.ย.น้อย ได้อย่างถูกต้อง
  2. นักเรียนมีพฤติกรรมด้านสุขภาพด้านสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม สามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
  3. นักเรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการส่งเสริมภาวะโภชนาการได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
  4. นักเรียนนำความรู้ความสามารถไปถ่ายทอดความรู้ขยายผลไปยังผู้ใกล้ชิดในกลุ่มเพื่อนนักเรียนครอบครัว และเพื่อนบ้านในชุมชนได้อย่างถูกต้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้

วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.  จัดทำโครงการเสนอประธานและคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลลำใหม่ 2.  ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3.  ประสานงานกับสสอ./รพ./สสจ.ยะลาเพื่อขออนุเคราะห์วิทยากร 4.  จัดเตรียมวัสดุ  อุปกรณ์ บุคลากรและสถานที่ 5.  ดำเนินงานฝึกอบรมตามโครงการ กลุ่มเป้าหมายจำนวน 2 รุ่น โดยรุ่นที่ 1 มีจำนวน 50 คน (จากโรงเรียนวัดลำใหม่,โรงเรียนบ้านทุ่งคา,โรงเรียนบ้านป่าพ้อ โรงเรียนบ้านปอเยาะ และโรงเรียนพิกุลศาสน์วิทยา โดยเลือกตัวแทนนักเรียนโรงเรียนละ 10 คน) และรุ่นที่ 2 จำนวน 20 คน จากโรงเรียนพัฒนาอิสลามวิทยา (มัธยมศึกษา)โดยทดสอบความรู้ก่อน-หลังเข้ารับการอบรม 6.  ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ร้อยละ 100 ของนักเรียนทราบถึงบทบาทผู้นำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพ (โภนาการที่ดี) และ อ.ย.น้อยได้อย่างถูกต้อง
  2. ร้อยละ 90 ของนักเรียนมีพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม  สามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องและขยายผลไปยังผู้ใกล้ชิดในกลุ่มเพื่อน ครอบครัว  และชุมชนได้
  3. ร้อยละ 80 ของโรงเรียนมีการจัดตั้งชมรมด้านสุขภาพ และอ.ย.น้อย ในโรงเรียนและมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

 

70 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้นักเรียนทราบถึงบทบาทผู้นำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพ(โภนาการที่ดี) และ อ.ย.น้อย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของนักเรียนทราบถึงบทบาทผู้นำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพ (โภนาการที่ดี) และ อ.ย.น้อยได้อย่างถูกต้อง
100.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้นักเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง และสามารถนำไปปฏิบัติในโรงเรียน ครอบครัวและชุมชนได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของนักเรียนมีพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม สามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องและขยายผลไปยังผู้ใกล้ชิดในกลุ่มเพื่อน ครอบครัว และชุมชนได้
90.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อให้เกิดชมรมด้านสุขภาพ และอ.ย.น้อย ในโรงเรียนและมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของโรงเรียนมีการจัดตั้งชมรมด้านสุขภาพ และอ.ย.น้อย ในโรงเรียนและมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้นักเรียนทราบถึงบทบาทผู้นำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพ(โภนาการที่ดี) และ อ.ย.น้อย (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้นักเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง และสามารถนำไปปฏิบัติในโรงเรียน  ครอบครัวและชุมชนได้ (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้เกิดชมรมด้านสุขภาพ และอ.ย.น้อย ในโรงเรียนและมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมพัฒนาแกนนำนักเรียนด้านสุขภาพ (โภชนาการที่ดี) และ อ.ย. น้อย ในโรงเรียน จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L4141-01-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำใหม่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด