กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่


“ โครงการอาสาสมัครประจำคลินิกปลอดบุหรี่ ประจำปี 2562 ”

ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำใหม่

ชื่อโครงการ โครงการอาสาสมัครประจำคลินิกปลอดบุหรี่ ประจำปี 2562

ที่อยู่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L4141-01-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอาสาสมัครประจำคลินิกปลอดบุหรี่ ประจำปี 2562 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอาสาสมัครประจำคลินิกปลอดบุหรี่ ประจำปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอาสาสมัครประจำคลินิกปลอดบุหรี่ ประจำปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62-L4141-01-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

บุหรี่เป็นสาเหตุการตายที่สำคัญทางประชากรโลก องค์การอนามัยโลก รายงานว่า ประชากรโลกเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ปีละ 4 ล้านคน ในประเทศไทย การสูบบุหรี่เป็นสาเหตุสำคัญที่สุดของโรคเรื้อรังที่เกิดขึ้นกับคนไทย ได้แก่ โรคมะเร็ง โรคเส้นเลือดสมองและหัวใจ โรคเบาหวาน โรคปอดเรื้อรัง โดยสาเหตุสำคัญอื่น ได้แก่ การดื่มสุรา การขาดการออกกำ ลังกาย และการกินอาหารหวานมันเค็ม มากเกินไป ทำให้คนไทยเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ปีละ 48,244 คน
      สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ได้เล็งเห็น ความสำคัญจึงได้สนับสนุนให้เกิดการบูรณาการเพื่อเชื่อมประสานการทำงาน ร่วมกัน ในการแก้ไขปัญหาการสูบบุหรี่และการดื่มสุรา ซึ่งถือว่าเป็นปัญหาที่ เป็นปัจจัยเสี่ยงหลักด้านสุขภาพ นอกจากนี้ยังพบว่าพฤติกรรมการสูบบุหรี่และ การดื่มสุรามีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน หากพบคนติดเหล้าก็มักจะติดบุหรี่ไปด้วย ดังนั้นในการป้องกันและแก้ไขปัญหานี้ได้ จึงให้ความสำคัญกับชุมชน ครอบครัว ที่เป็นหน่วยเล็กที่สุดในสังคม เพื่อเป็นการควบคุมปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ จึงได้สนับสนุนให้มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นอีสาน ได้เข้ามา มีบทบาทในการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำ หมู่บ้าน (อสม.) ในการบูรณาการงานเหล้าบุหรี่ เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอนามัยชุมชน
      สถานการณ์การบริโภคยาสูบในตำบลลำใหม่ ประชากรอายุ15 ปี ขึ้นไป ที่สูบบุหรี่ในตำบลลำใหม่ จำนวน 565 คน คิดเป็นร้อยละ 12.70 ด้วยเหตุนี้ทางตำบลลำใหม่ อำเภอเมือง จังหวัดยะลา ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาจากการบริโภคยาสูบ จึงได้จัดทำโครงการอาสาสมัครคลินิกปลอดบุหรี่ ประจำปี 2562 เพื่ออบรมตัวแทนอาสาสมัครประจำคลินิกปลอดบุหรี่ เพื่อชักชวน แนะนำประชาชนในเขตพื้นที่ให้มารับบริการเลิกบุหรี่ ที่คลินิกปลอดบุหรี่ประจำโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำใหม่ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคนในชุมชน ลด ละ เลิกการบริโภคยาสูบ และกำหนดโซนนิ่งเขตห้ามสูบบุหรี่ เพื่อเป้าหมายสูงสุดที่จะทำให้เป็นตำบลปลอดบุหรี่และเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับสังคมสืบต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อดำเนินการให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเข้าร่วมเป็นอาสาสมัครประจำคลินิกปลอดบุหรี่
  2. ข้อที่ 2 เพื่อให้ประชาชนที่สูบบุหรี่เข้าร่วมเลิกบุหรี่ประจำคลินิกปลอดบุหรี่
  3. ข้อที่ 3 เพื่อให้ประชาชนที่เข้าร่วมเลิกบุหรี่ประจำคลินิกปลอดบุหรี่เลิกบุหรี่อย่างน้อย 9 เดือน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ร้อยละ 100 ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเข้าร่วมเป็นอาสาสมัครประจำคลินิกปลอดบุหรี่ 2.ร้อยละ 50 ของประชาชนที่สูบบุหรี่เข้าร่วมเลิกบุหรี่ประจำคลินิกปลอดบุหรี่ 3. ร้อยละ 50 ของประชาชนที่เข้าร่วมเลิกบุหรี่ประจำคลินิกปลอดบุหรี่เลิกบุหรี่อย่างน้อย 9 เดือน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมให้ความรู้

วันที่ 25 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดประชุมคณะทำงานคลินิกปลอดบุหรี่  เพื่อวางแนวทางการทำงานต่อเนื่อง
  2. ให้เจ้าหน้าที่ อสม./สาธารณสุขร่วมสำรวจข้อมูลการสูบบุหรี่ในชุมชน ประเมินสถานการณ์ในพื้นที่ที่สอดคล้องกับวิถีวัฒนธรรมของชุมชน
  3. วางแผนการรณรงค์สร้างกระแสลดละเลิกการบริโภคยาสูบ และชักชวนให้เข้าร่วมเลิกบุหรี่ที่คลินิกเลิกบุหรี่ประจำโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำใหม่
      4.  จัดอบรมให้ความรู้แก่อสม.จำนวน 60 คน เรื่องประวัติความเป็นมาและส่วนประกอบของบุหรี่,โรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่,ภัยร้ายของบุหรี่มือสอง, การชักชวน/โน้มน้าวใจผู้สูบบุหรี่ให้เลิกสูบบุหรี่ และทดสอบความรู้ก่อน-หลังเข้ารับการอบรม ณ ห้องประชุม รพ.สต.  ลำใหม่   5.  ติดตามการเลิกบุหรี่อย่างต่อเนื่อง ทุก 1,3 และ 6 เดือน และนำผลการติดตามมาวิเคราะห์ร่วมกับเจ้าหน้าที่ประจำโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำใหม่ เพื่อร่วมหาแนวทางต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ร้อยละ 100 ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเข้าร่วมเป็นอาสาสมัครประจำคลินิกปลอดบุหรี่
  2. ร้อยละ 50 ของประชาชนที่สูบบุหรี่เข้าร่วมเลิกบุหรี่ประจำคลินิกปลอดบุหรี่ 3.ร้อยละ 50 ของประชาชนที่เข้าร่วมเลิกบุหรี่ประจำคลินิกปลอดบุหรี่เลิกบุหรี่อย่างน้อย 9 เดือน

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อดำเนินการให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเข้าร่วมเป็นอาสาสมัครประจำคลินิกปลอดบุหรี่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเข้าร่วมเป็นอาสาสมัครประจำคลินิกปลอดบุหรี่
100.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้ประชาชนที่สูบบุหรี่เข้าร่วมเลิกบุหรี่ประจำคลินิกปลอดบุหรี่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ของประชาชนที่สูบบุหรี่เข้าร่วมเลิกบุหรี่ประจำคลินิกปลอดบุหรี่
50.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อให้ประชาชนที่เข้าร่วมเลิกบุหรี่ประจำคลินิกปลอดบุหรี่เลิกบุหรี่อย่างน้อย 9 เดือน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ของประชาชนที่เข้าร่วมเลิกบุหรี่ประจำคลินิกปลอดบุหรี่เลิกบุหรี่อย่างน้อย 9 เดือน
50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1  เพื่อดำเนินการให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเข้าร่วมเป็นอาสาสมัครประจำคลินิกปลอดบุหรี่ (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้ประชาชนที่สูบบุหรี่เข้าร่วมเลิกบุหรี่ประจำคลินิกปลอดบุหรี่ (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้ประชาชนที่เข้าร่วมเลิกบุหรี่ประจำคลินิกปลอดบุหรี่เลิกบุหรี่อย่างน้อย 9 เดือน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอาสาสมัครประจำคลินิกปลอดบุหรี่ ประจำปี 2562 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L4141-01-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำใหม่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด