กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
ติดตามกลุ่มเป้าหมายรับการตรวจมะเร็งปากมดลูก12 กรกฎาคม 2561
12
กรกฎาคม 2561รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโฆษิต
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ร่วมกับเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านโคกมือบา ประชุมเพื่อจัดทำแผนการดำเนินงานร่วกันในระดับ รพ.สต.
  2. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน สำรวจจำนวนกลุ่มเป้าหมายให้เป็นปัจจุบัน
  3. จัดทำโครงการเพื่อเสนอขอพิจารณาอนุมัติ
  4. ประชาสัมพันธ์ และติดตามกลุ่มเป้าหมายสนับสนุนให้ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
  5. ให้ความรู้แก่สตรีกลุ่มเป้าหมายเกี่ยวกับมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูก
  6. รณรงค์ให้สตรีอายุ 30 ปีขึ้นไป ตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองเป็นประจำทุกเดือน
  7. รพ.สต.ประเมินผลการดำเนินงานในสถานบริการ
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยการตรวจเต้านมเป็นประจำทุกเดือนด้วยตนเองได้
  2. สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักและเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
  3. สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกตามเกณฑ์กำหนด
  4. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบสิ่งผิดปกติได้รับการส่งต่อเมื่อรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้อัตราการเกิดโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในระยะรุนแรงลดลง
ให้ความรู้แก่สตรีกลุ่มเป้าหมายเกี่ยวกับมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก12 กรกฎาคม 2561
12
กรกฎาคม 2561รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโฆษิต
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ร่วมกับเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านโคกมือบา ประชุมเพื่อจัดทำแผนการดำเนินงานร่วกันในระดับ รพ.สต.
  2. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน สำรวจจำนวนกลุ่มเป้าหมายให้เป็นปัจจุบัน
  3. จัดทำโครงการเพื่อเสนอขอพิจารณาอนุมัติ
  4. ประชาสัมพันธ์ และติดตามกลุ่มเป้าหมายสนับสนุนให้ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
  5. ให้ความรู้แก่สตรีกลุ่มเป้าหมายเกี่ยวกับมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูก
  6. รณรงค์ให้สตรีอายุ 30 ปีขึ้นไป ตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองเป็นประจำทุกเดือน
  7. รพ.สต.ประเมินผลการดำเนินงานในสถานบริการ
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยการตรวจเต้านมเป็นประจำทุกเดือนด้วยตนเองได้
  2. สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักและเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
  3. สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกตามเกณฑ์กำหนด
  4. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบสิ่งผิดปกติได้รับการส่งต่อเมื่อรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้อัตราการเกิดโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในระยะรุนแรงลดลง
จัดทำโครงการเพื่อเสนอขอพิจารณาอนุมัติ12 กรกฎาคม 2561
12
กรกฎาคม 2561รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโฆษิต
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ร่วมกับเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านโคกมือบา ประชุมเพื่อจัดทำแผนการดำเนินงานร่วกันในระดับ รพ.สต.
  2. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน สำรวจจำนวนกลุ่มเป้าหมายให้เป็นปัจจุบัน
  3. จัดทำโครงการเพื่อเสนอขอพิจารณาอนุมัติ
  4. ประชาสัมพันธ์ และติดตามกลุ่มเป้าหมายสนับสนุนให้ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
  5. ให้ความรู้แก่สตรีกลุ่มเป้าหมายเกี่ยวกับมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูก
  6. รณรงค์ให้สตรีอายุ 30 ปีขึ้นไป ตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองเป็นประจำทุกเดือน
  7. รพ.สต.ประเมินผลการดำเนินงานในสถานบริการ
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยการตรวจเต้านมเป็นประจำทุกเดือนด้วยตนเองได้
  2. สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักและเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
  3. สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกตามเกณฑ์กำหนด
  4. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบสิ่งผิดปกติได้รับการส่งต่อเมื่อรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้อัตราการเกิดโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในระยะรุนแรงลดลง
ประชุมเพื่อจัดทำแผนการดำเนินงาน12 กรกฎาคม 2561
12
กรกฎาคม 2561รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโฆษิต
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ร่วมกับเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านโคกมือบา ประชุมเพื่อจัดทำแผนการดำเนินงานร่วกันในระดับ รพ.สต.
  2. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน สำรวจจำนวนกลุ่มเป้าหมายให้เป็นปัจจุบัน
  3. จัดทำโครงการเพื่อเสนอขอพิจารณาอนุมัติ
  4. ประชาสัมพันธ์ และติดตามกลุ่มเป้าหมายสนับสนุนให้ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
  5. ให้ความรู้แก่สตรีกลุ่มเป้าหมายเกี่ยวกับมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูก
  6. รณรงค์ให้สตรีอายุ 30 ปีขึ้นไป ตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองเป็นประจำทุกเดือน
  7. รพ.สต.ประเมินผลการดำเนินงานในสถานบริการ
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยการตรวจเต้านมเป็นประจำทุกเดือนด้วยตนเองได้
  2. สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักและเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
  3. สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกตามเกณฑ์กำหนด
  4. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบสิ่งผิดปกติได้รับการส่งต่อเมื่อรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้อัตราการเกิดโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในระยะรุนแรงลดลง