กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเหรียง


“ โครงการรวมพลังคนรุ่นใหม่ เพื่อสังคมไทยปลอดบุหรี่ ปี 2562 ”

ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางดรุณี เพชรพันธุ์

ชื่อโครงการ โครงการรวมพลังคนรุ่นใหม่ เพื่อสังคมไทยปลอดบุหรี่ ปี 2562

ที่อยู่ ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5171-1-26 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 มิถุนายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรวมพลังคนรุ่นใหม่ เพื่อสังคมไทยปลอดบุหรี่ ปี 2562 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเหรียง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรวมพลังคนรุ่นใหม่ เพื่อสังคมไทยปลอดบุหรี่ ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรวมพลังคนรุ่นใหม่ เพื่อสังคมไทยปลอดบุหรี่ ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L5171-1-26 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 มิถุนายน 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 2,950.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเหรียง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การบริโภคยาสูบหรือการสูบบุหรี่ เป็นสาเหตุสำคัญของปัญหาทางสุขภาพที่ร้ายแรง บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข โดยเฉพาะนักเทคนิคการแพทย์ ได้เข้ามามีส่วนร่วมอย่างสำคัญ ในการรณรงค์เพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ มุ่งให้มีการลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่ เนื่องจากการงดบริโภคยาสูบหรือการหยุดสูบบุหรี่ จะทำให้อัตราการเสียชีวิตจากโรคที่เกี่ยวข้องกับการบริโภคยาสูบหรือการสูบบุหรี่ลดลงได้อย่างมีนัยสำคัญ สุขภาพอนามัยและคุณภาพชีวิตของผู้ที่เลิกสูบบุหรี่ได้ ของสมาชิกในครอบครัว และของผู้อื่นในสังคมดีขึ้น ลดค่าใช้จ่ายของครอบครัวและประเทศชาติในการดูแลรักษาพยาบาลผู้ป่วย ที่มีสาเหตุแห่งความเจ็บป่วยมาจากการบริโภคยาสูบหรือการสูบบุหรี่ องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ให้ความสำคัญและสนับสนุนการควบคุมการบริโภคยาสูบ หรือการเลิกสูบบุหรี่มาอย่างต่อเนื่อง โดยจัดให้มี “วันงดสูบบุหรี่โลก” (World No Tobacco Day) ขึ้นใน วันที่ 31 พฤษภาคม ของทุกปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2531 เป็นต้นมาโดยในปี พ.ศ.2553 นี้ องค์การอนามัยโลกได้ให้คำขวัญว่า "Gender and tobacco with an emphasis on marketing to women" หรือ “หญิงไทยฉลาดไม่เป็นทาสตลาดบุหรี่” โดยให้ความสำคัญต่อการปกป้องเด็กและสตรี มิให้กลายเป็นเหยื่อของอุตสาหกรรมบุหรี่ รวมทั้งปกป้องสิทธิการมีสุขภาพที่ดีของผู้ที่ไม่สูบบุหรี่ แต่ได้รับผลกระทบจากการสูบบุหรี่ของบุคคลอื่น หรือที่เรียกว่าผู้สูบบุหรี่มือสอง (secondary or passive smokers) และตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 เป็นต้นมา องค์การอนามัยโลกได้มุ่งเน้นให้บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข เข้ามามีส่วนร่วมในการควบคุมการบริโภคยาสูบ โดยสนับสนุนให้บุคลากรทางการแพทย์ และสาธารณสุขทุกสาขาอาชีพ ร่วมมือกันก่อตั้ง “เครือข่ายวิชาชีพสุขภาพเพื่อสังคมไทยปลอดบุหรี่” โดยมีเป้าหมายในการร่วมมือกันรณรงค์ต่อต้านพิษภัยควันบุหรี่ จัดกิจกรรมควบคุมการบริโภคยาสูบ และรณรงค์การลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่ เพื่อให้การต่อต้านพิษภัยควันบุหรี่ มีประสิทธิภาพ ต่อเนื่อง สัมฤทธิผล และนำไปสู่เป้าหมาย “สังคมไทยปลอดบุหรี่” ได้ในที่สุด จากข้อมูลขององค์การอนามัยโลก ปี 2561 พบว่า แต่ละปีมีผู้เสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ประมาณ 7 ล้านคนและคนไทยเสียชีวิตกว่า 50,000 คนต่อปี จากโรคร้ายที่เกิดจากบุหรี่ เช่นโรคมะเร็ง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคถุงลมปอดพอง และในบุหรี่มีสารเคมี 4,000 กว่าชนิด เช่น formaldehyde (สารเคมีที่ใช้ดองศพ) carbon monoxide (เช่นเดียวกับควันจากท่อไอเสียเครื่องยนต์) สาร acetone (สารเคมีที่ใช้ล้างเล็บ) ซึ่งสารเหล่านี้ ล้วนแต่เป็นอันตรายต่อสุภาพทั้งต่อผู้สูบเองและผู้ที่ได้รับควันบุหรี่มือสอง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากผู้ที่ได้รับควันบุหรี่เป็นเด็ก ก็จะยิ่งเป็นอันตรายมากขึ้น เนื่องจากเด็กยังมีภูมิต้านทางโรคค่อนข้างต่ำ และยังไม่สามารถป้องกันตนเองจากการได้รับควันบุหรี่จากผู้ใหญ่ได้ ประกอบกับในปี 2562 จังหวัดสงขลา เน้นให้มีชุมชนปลอดบุหรี่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางเหรียง จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อ ให้ประชาชนทั่วไป โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ ให้หันมาตระหนักสนใจและมีส่วนร่วม ในการควบคุมการบริโภคยาสูบและร่วมรณรงค์ เพื่อการลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่ หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการควบคุมการบริโภคบุหรี่
  2. 2. เพื่อส่งเสริมความรู้เรื่องพิษภัยของบุหรี่ให้แก่ประชาชน
  3. 3. เพื่อจัดตั้งมุมความรฤู้เรื่องภัยของบุหรี่ให้แก่ประชาชน
  4. 4. เพื่อชจัดตั้งชมรมต่อต้านภัยควันบุหรี่ในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ 2. เชิยชวนเยาวชนและประชาชนผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรม 3. ประชุมชี้แจ้งโครงการ แก่จนท./อสม. 4. รวบรวมรายชื่อกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมเข้าร่วมกิจกรรมเข้ารับการอบรม
  2. 5. จัดทำเอกสารคู่มือประกอบความรู้ แบบทดสอบก่อน-หลังเข้ารับการอบรม 6. ดำเนินตามโครงการ 6.1 จัดอบรมให้ความรู้ผู้เข้าร่วมโครงการพลังคนรุ่นใหม่ เพื่อสังคมไทยปลอดบุหรี่ จำนวน 50 คน 6.2 ทำแบบทดสอบความรู้ก่อนเข้าอบรม
  3. 6.3 แจกคู่มือความรู้ พิษภัยของบุหรี่และการปฏิบัติตน 6.4 ทำแบบทดสอบความรู้หลังการอบรม 6.5 จัดตั้งมุมความรู้เรื่องบุหรี่ เพื่อประชาสัมพันธ์ เผยแพร่และแนะนำ การควบคุมการบริโภคยาสูบ และการรณรงค์ เพื่อการลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่ ให้กับเยาวชนและประชาชนทั่วไป
  4. 6.6 จัดตั้งชมรมต่อต้านพิาภัยควันบุหรี่ 7. จัดตั้งคลินิกเลิกบุหรี่ในสถานบริการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เยาวชนและประชาชนทั่วไป ผู้ที่สนใจโดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ มีความตระหนักสนใจและมีส่วนร่วม ในการควบคุมการบริโภคยาสูบและร่วมรณรงค์ เพื่อการลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่
  2. เยาวชนและประชาชนทั่วไป ผู้ที่สนใจโดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ มีความรู้และทักษะเพิ่มขึ้น จากการเผยแพร่และแนะนำ การควบคุมการบริโภคยาสูบและการรณรงค์ เพื่อการลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่
  3. ในชุมชนมีมุมความรู้เกี่ยวกับบุหรี่
  4. มีชมรมต่อต้านพิษภัยควันบุหรี่

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการควบคุมการบริโภคบุหรี่
ตัวชี้วัด : 1. ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองการสูบบุหรี่ภายในปี 2562 ร้อยละ 80
0.00

 

2 2. เพื่อส่งเสริมความรู้เรื่องพิษภัยของบุหรี่ให้แก่ประชาชน
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการอบรม
0.00

 

3 3. เพื่อจัดตั้งมุมความรฤู้เรื่องภัยของบุหรี่ให้แก่ประชาชน
ตัวชี้วัด : 1. มีมุมความรู้ในชุมชน อย่างน้อย 1 แห่ง
0.00

 

4 4. เพื่อชจัดตั้งชมรมต่อต้านภัยควันบุหรี่ในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. ชุมชนมีการจัดตั้งชมรมต่อต้านควันบุหรี่ อย่างน้อย 1 ชมรม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการควบคุมการบริโภคบุหรี่ (2) 2. เพื่อส่งเสริมความรู้เรื่องพิษภัยของบุหรี่ให้แก่ประชาชน (3) 3. เพื่อจัดตั้งมุมความรฤู้เรื่องภัยของบุหรี่ให้แก่ประชาชน (4) 4. เพื่อชจัดตั้งชมรมต่อต้านภัยควันบุหรี่ในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ 2. เชิยชวนเยาวชนและประชาชนผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรม 3. ประชุมชี้แจ้งโครงการ แก่จนท./อสม. 4. รวบรวมรายชื่อกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมเข้าร่วมกิจกรรมเข้ารับการอบรม (2) 5. จัดทำเอกสารคู่มือประกอบความรู้ แบบทดสอบก่อน-หลังเข้ารับการอบรม 6. ดำเนินตามโครงการ  6.1 จัดอบรมให้ความรู้ผู้เข้าร่วมโครงการพลังคนรุ่นใหม่ เพื่อสังคมไทยปลอดบุหรี่ จำนวน 50 คน  6.2 ทำแบบทดสอบความรู้ก่อนเข้าอบรม (3) 6.3 แจกคู่มือความรู้ พิษภัยของบุหรี่และการปฏิบัติตน  6.4 ทำแบบทดสอบความรู้หลังการอบรม  6.5 จัดตั้งมุมความรู้เรื่องบุหรี่ เพื่อประชาสัมพันธ์ เผยแพร่และแนะนำ การควบคุมการบริโภคยาสูบ และการรณรงค์ เพื่อการลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่ ให้กับเยาวชนและประชาชนทั่วไป (4) 6.6 จัดตั้งชมรมต่อต้านพิาภัยควันบุหรี่ 7. จัดตั้งคลินิกเลิกบุหรี่ในสถานบริการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรวมพลังคนรุ่นใหม่ เพื่อสังคมไทยปลอดบุหรี่ ปี 2562 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5171-1-26

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางดรุณี เพชรพันธุ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด