กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเกาะใหญ่ร่วมใจเสริมพลังปรับเปลี่ยนโรคหลอดเลือดหัวใจและโรคหลอดเลือดสมอง ปีงบประมาณ 2562
รหัสโครงการ 62-L5171-1-28
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะใหญ่
วันที่อนุมัติ 6 มิถุนายน 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 6 มิถุนายน 2562 - 30 กันยายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ตุลาคม 2562
งบประมาณ 9,950.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางดรุณี เพชรพันธุ์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.112,100.364place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคหัวใจและหลอดเลือดสมองคือโรคที่เกิดจากความผิดปกติของหลอดเลือดส่งผลให้หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะสำคัยในร่างกายอุดตันหรือเสี่ยงอาจถึงขั้นเส้นเลือดแตกโยเฉพาะหากเกิดกับหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงสมองหรือหัวใจอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้ ปัจจุบันโรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นสาเหตุอันดับหนึ่งที่คร่าชีวิตพลเมืองโลกมาที่สุด จากสถิติพบว่าในทุกๆ 2 วินาทีจะมีคนเสียชีวิตด้วยโรคนี้ 1 คน องค์การอนามัยโลกได้ทำนายไว้ว่าในปี พ.ศ.2573 ประชากรโลกจำนวน 23 ล้านคน จะเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองและหัวใจโดยร้อยละ 85 อยู่ในประเทศกำลังพัฒนา ประเทศไทยคาดว่ามีผู้ป่วยรายใหม่ในแต่ละปี 150,000 ราย โรคหัวใจและหลอดเลือดเกี่ยวข้องกับปัจจัยหลายประการได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุและเพศ ปัจจัยด้ายพฤติกรรม เช่น การออกกำลังอาหารการสูบบุหรี่ดื่มสุรา และปัจจัยทางกายภาพ เช่น ความดันโลหิต ระดับไขมัน และเบาหวาน ปัจจัยเหล่านี้ล้วนเป็นความเสี่ยงของแต่ละบุคคลในการนำไปสู่โรคหัวใจ และหลอดเลือดในระดับที่แตกต่างกันซึ่งบุคคลที่มีปัจจัยที่มีหลายปัจจัยร่วมกันจะมีโอกาศเสี่ยงต่อโรคมากขึ้น จากข้อมูลระบบคลังข้อมูลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จ.สงขลา ปี 2561 พบว่า ในเขตตำบลบางเหรียง มีผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองจำนวน 289 คน เป็นผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 7 คน ส่วนใหญ่พบในกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 205 คน และมีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มีสภาวะแทรกซ้อนหลอดเลือดสมองร้อยละ 4.20 มีสภาวะแทรกซ้อนหัวใจและหลอดเลือดร้อยละ 2.80 ตามลำดับ ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะใหญ่ เล็งเห็นความสำคัญในการดูแลส่งเสริมสุขภาพในการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดหัวใจจึงได้จัดทำโครงการเกาะใหญ่ร่วมใจเสริมพลังปรับเปลี่ยนโรคหลอดเลือดหัวใจและโรคหลอดเลือดสมอง ปีงบประมาณ 2562 ขึ้นเพื่อให้กลุ่มประชาชนที่มี่ความเสี่ยงต่อการกเดิโรคหัวใจและโรคหลอดเลือดสมอง มี่คววามรู้เข้าใจในการป้องกันโรค เพื่อป้องการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองได้ในระดับหนึ่ง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้กลุ่มประชาชนที่มความ เสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอด เลือดสมองมีความรู้ความเข้าใจในการ ป้องกันการเกิดโรค
  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยมีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 70
0.00
2 2. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคหัวใจและ โรคหลอดเลือดสมอง
  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยมีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 70
0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 100 9,950.00 0 0.00
1 มิ.ย. 63 1. ประชุมชี้แจ้ง รายละเอียดโครงการ แก่ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ผู้นำท้องถิ่นและอสม. 100 0.00 -
1 มิ.ย. 63 2. ประชาสัมพันธ์วีน เวลา และสถานที่แก่ กลุ่มป่วยโดยส่งบัตรเชิญโดยให้ อสม. ใน พื้นที่นำไปแจกจ่ายแก่กลุ่ม พร้อมระบุว่า สะดวกเข้าร่วมหรือไม่ เพราะเหตุใดและการ เตรียมตัวทำกิจกรรม 0 450.00 -
1 มิ.ย. 63 3. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่กลุ่มประชากรที่มีการคัดกรอง CVD Risk มากกว่า 20% เกี่ยวข้องกับการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง (อัมพฤกษ์ อัมพาต )โรคหัวใใจโรคไตวาย พร้อมแบ่งกลุ่มเข้าแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 0 9,500.00 -
1 มิ.ย. 63 4. ประเมินผลโครงการ ดังนี้ 4.1 ระดับความรู้ของผู้เข้าอบรมประเมินจากแบบสอบถาม เรื่องดูแลสุขภาพด้านการออกกำลังกาย การบริโภคอาหารและสุขภาพจิตก่อนและหลังอบรมเกณฑ์ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องเพิ่มขึ้น 0 0.00 -
1 มิ.ย. 63 4.2 พฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผู้เข้าอบรมประเมินจากแบบสอบถาม เรื่องพฤติกรรมการดูแลสุขภาพด้านโภชนการออกกำลังเกณฑ์ร้อยละ 80 มีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องติดตาม หลังการอบรม 3 เดือน 0 0.00 -
  1. ประชุมชี้แจ้ง รายละเอียดโครงการ แก่เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ผู้นำท้องถิ่นและอสม.
  2. ประชาสัมพันธ์วีน เวลา และสถานที่แก่กลุ่มป่วยโดยส่งบัตรเชิญโดยให้ อสม. ในพื้นที่นำไปแจกจ่ายแก่กลุ่ม พร้อมระบุว่า สะดวกเข้าร่วมหรือไม่ เพราะเหตุใดและการเตรียมตัวทำกิจกรรม
  3. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่กลุ่มประชากรที่มีผลการคตัดกรอง CVD Risk >20%เกี่ยวกับการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือด สมอง (อัมพฤกษ์ อัมพาต) โรคหัวใจโรคไตวาย พร้อมแบ่งกลุ่มเข้าฐานแลกเปลี่ยนเรียนรู้
  4. ประเมินผลโครงการ ดังนี้ 4.1 ระดับความรู้ของผู้เข้าอบรมประเมินจากแบบสอบถาม เรื่องการดูแลสุขภาพด้านการออกกำลังกาย การบริโภคอาหาร และ สุขภาพจิตก่อนหลังหลังอบรมเกณฑ์ร้อยละ 80 ของผู้เข้าอบรมมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องเพิ่มขึ้น 4.2 พฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผู้เข้าอบรมประเมินจากแบบสอบถาม เรื่องพฤติกรรมการดูแลสุขภาพด้านโภชนาการ การ ออกกำลังกายเกณฑ์ร้อยละ 80มีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องติดตามหลังการอบรม 3 เดือน
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. กลุ่มเป้าหมาย สามารถควบคุมให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้ ลดการเกิดภาวะโรคแทรกซ้อน
  2. กลุ่มเป้าหมายที่มีสภาวะแทรกซ้อน ได้รับการดูแลสุขภาพและส่งต่อเพื่อรักษาอย่างถูกต้อง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 มิ.ย. 2562 19:13 น.