กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ในเด็กก่อนวัยเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปูลากาซิง
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้ากอลำ
วันที่อนุมัติ 1 พฤศจิกายน 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2561 - 30 กันยายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2562
งบประมาณ 18,050.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวนูรียะ ปูแทน
พี่เลี้ยงโครงการ นางรอฮานา ดือเระ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลกอลำ อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.673,101.329place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 70 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของชาติ ในหลายประเทศล้วนมุ่งเน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งจะต้องเริ่มต้นจากเด็ก โดยเฉพาะในช่วงแรกเกิด – ๕ ปี ซึ่งเป็นช่วงที่เริ่มมีการพัฒนาในด้านต่างๆ อย่างรวดเร็ว ทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม เด็กในวัยนี้ถ้าได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑. เพื่อพัฒนาศักยภาพพ่อ แม่หรือผู้ปกครองให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมและประเมินพัฒนาการ เด็ก ๒ – ๕ ปี จำนวน ๗๐ คน ๑.๒ เพื่อให้เด็ก ๒ - ๕ ปีได้รับการประเมินและกระตุ้นพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย จำนวน ๗๐ คน ๑.๓ เพื่อให้เด็ก ๒ – ๕ ปี ที่สงสัยพัฒนาการล่าช้าและ ได้รับการคัดกรองโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จำนวน ๗๐ คน

๑. ผู้ปกครองนักเรียนมีการพัฒนาศักยภาพเกี่ยวกับการส่งเสริมและประเมินพัฒนาการ
    เด็กอายุ ๒ – ๕ ปี  ร้อยละ ๑๐๐ ๒. เด็ก ๒ - ๕ ปีได้รับการประเมินและกระตุ้นพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย
  จำนวน ๗๐ คน ร้อยละ ๑๐๐ ๓. เด็ก ๒ – ๕ ปี ที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า ได้รับการคัดกรองโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
  จำนวน  ๗๐ คน    ร้อยละ ๑๐๐

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 มิ.ย. 2562 12:03 น.