กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ


“ โครงการประชาชนสุขภาพดี ด้วยวิถีแพทย์แผนไทย ”

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายอารัญย์ มัจฉา

ชื่อโครงการ โครงการประชาชนสุขภาพดี ด้วยวิถีแพทย์แผนไทย

ที่อยู่ อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5312-1-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 31 มีนาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการประชาชนสุขภาพดี ด้วยวิถีแพทย์แผนไทย จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการประชาชนสุขภาพดี ด้วยวิถีแพทย์แผนไทย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการประชาชนสุขภาพดี ด้วยวิถีแพทย์แผนไทย " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L5312-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 31 มีนาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 73,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล มีประชากรทั้งหมด 11,225 คน เพศชาย จำนวน 5,064 คน เพศหญิง 5,331 คน มีจำนวนหลังคาเรือนทั้งหมด 1,890 และมีจำนวนจำนวนประชากรช่วงอายุ 32 ปีขึ้นไปจำนวน 3,261 คน สถิติการเจ็บป่วยของประชาชน ที่รับบริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากน้ำ โดยจำแนกผู้ป่วยนอกตามสาเหตุการป่วย 21 กลุ่มโรค พบว่า 3 อันดับแรกโรคที่เป็นสาเหตุการป่วยมากที่สุดคือ ความดันโลหิตสูง, เบาหวาน, และไขมันในเลือดผิดปกติ ตามลำดับ
จะเห็นได้ว่าข้อมูลผู้ป่วยโรคเรื้อรังของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากน้ำมีจำนวนมาก และยังพบว่า ผู้ป่วยเหล่านี้ มีปริมาณสำหรับการรักษาโรคเรื้อรังในปริมาณมากเช่นกัน อีกทั้งยังมีการดูแลสุขภาพที่ไม่ถูกต้องจึงส่งผลให้พบภาวะแทรกซ้อนต่างๆตามมา หากประชาชนได้รับการส่งเสริม ป้องกัน ดูแลสุขภาพตนเองตั้งเเต่เบื้องต้นก่อนเกิดปัญหาสุขภาพ โดยการส่งเสริมให้ประชาชนมีองค์ความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองจนสามารถนำกลับไปปฏิบัติที่บ้าน แนะนำคนในครอบครัวและคนใกล้ชิด ให้ทราบถึงวิธีการดูแลสุขภาพด้วยวิธีการง่ายๆ ด้วยวิธีทางการแพทย์แผนไทย เช่น การออกกำลังกาย การบริหารร่างกาย ตลอดจนการใช้ยาสมุนไพรในการส่งเสริมสุขภาพ ซึ่งวิธีการต่างๆเหล่านี้ ถือว่าเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สามารถเรียนรู้ได้ง่าย บางพื้นที่มีองความรู้เหล่านี้อยู่ในชุมชนอยู่แล้ว เพียงแต่ยังขาดวิธีการ หลักการที่ถูกต้อง และไม่ได้รับคำแนะนำที่ดี จึงไม่กล้าที่จะนำเอาความรู้เหล่านี้มาดูแลสุขภาพของตนเองและคนใกล้ตัวได้นั่นเอง โครงการ “ประชาชนสุขภาพดี ด้วยวิถีการแพทย์แผนไทย” เป็นอีกหนึ่งโครงการที่จะตอบโจทย์ ปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนในมิติการดูแลสุขภาพ โดยเฉพาะการใช้องค์ความรู้เดิมในการดูแลสุขภาพ ซึ่งกลุ่มงานการแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากน้ำ มีแพทย์แผนไทยผู้ปฏิบัติงาน ที่เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประเภท เวชกรรมไทยและมีผู้ช่วยแพทย์แผนไทย ที่ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรผู้ช่วยแพทย์แผนไทย 372 ชั่วโมง ที่มีความรู้ความสามารถในด้านการรักษาผู้ป่วยในพื้นที่ การออกตรวจสุขภาพและให้บริการด้านสุขภาพของผู้ป่วยโดยเฉพาะผู้สูงอายุ และผู้ป่วยโรคเรื้อรังตามทฤษฎีการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก จะส่งผลดีให้กลุ่มเป้าหมาย ในสร้างคุณภาพชีวิต ให้มีสุขภาพกายและสุขภาพใจที่แข็งแรงต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพ และรักษาสุขภาพด้วยวิธีทางการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
  2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพของตนเอง รู้จักวิธีการเตรียมตัว และวิธีป้องกันโรคก่อนเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ
  3. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์เกี่ยวกับภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การใช้สมุนไพรในการดูแลตนเอง
  4. เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนภูมิปัญญาในท้องถิ่น พัฒนาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรอย่างต่อเนื่อง
  5. เพื่อให้มีการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมคณะทำงาน
  2. กิจกรรมออกตรวจสุขภาพตามวิถีแพทย์แผนไทยและการฝึกทำลูกประคบ พิมแสนน้ำ ยาหม่องสมุนไพร ยาดมสมุนไพร
  3. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนิทรรศการวันภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและ (กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 40
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรอง ตรวจสุขภาพ และรักษาสุขภาพด้วยวิธีทางการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ร้อยละ 100 2.กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ความเข้าใจวิธีการดูแลสุขภาพตนเอง และวิธีการป้องกันโรคก่อนเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น 3.สามารถพึ่งพาตนเองโดยการใช้องค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน สามารถนำไปดูแลตนเองและบุคคลรอบข้างได้ถูกต้อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมประชุมคณะทำงาน

วันที่ 6 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงาน จำนวน 10 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมจัดวางแผนในการทำกิจกรรมต่างๆ

 

10 0

2. กิจกรรมออกตรวจสุขภาพตามวิถีแพทย์แผนไทยและการฝึกทำลูกประคบ พิมแสนน้ำ ยาหม่องสมุนไพร ยาดมสมุนไพร

วันที่ 6 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ออกตรวจสุขภาพตามวิถีแพทย์แผนไทยและการฝึกทำลูกประคบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ความรู้ วิธีการใช้ประโยชน์และข้อควรรระวังในการทำลูกประคบสมุนไพร พิมเสน ยาหม่อง ยาดมสมุรไพร

 

80 0

3. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนิทรรศการวันภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและ (กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง)

วันที่ 6 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

แลกเปลี่ยนเรียนรู้และนิทรรศการวันภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนสามารถเอาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพ และรักษาสุขภาพด้วยวิธีทางการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพ และรักษาสุขภาพด้วยวิธีทางการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ร้อยละ 100
0.00 0.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพของตนเอง รู้จักวิธีการเตรียมตัว และวิธีป้องกันโรคก่อนเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพของตนเอง รู้จักวิธีการเตรียมตัว และวิธีป้องกันโรคก่อนเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น
0.00

 

3 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์เกี่ยวกับภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การใช้สมุนไพรในการดูแลตนเอง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและใช้สมุนไพรในการดูแลตนเองเพิ่มขึ้น
0.00

 

4 เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนภูมิปัญญาในท้องถิ่น พัฒนาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

5 เพื่อให้มีการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 40
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพ และรักษาสุขภาพด้วยวิธีทางการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพของตนเอง รู้จักวิธีการเตรียมตัว และวิธีป้องกันโรคก่อนเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (3) มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์เกี่ยวกับภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การใช้สมุนไพรในการดูแลตนเอง (4) เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนภูมิปัญญาในท้องถิ่น พัฒนาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรอย่างต่อเนื่อง (5) เพื่อให้มีการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมคณะทำงาน (2) กิจกรรมออกตรวจสุขภาพตามวิถีแพทย์แผนไทยและการฝึกทำลูกประคบ พิมแสนน้ำ ยาหม่องสมุนไพร ยาดมสมุนไพร (3) จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนิทรรศการวันภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและ (กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการประชาชนสุขภาพดี ด้วยวิถีแพทย์แผนไทย จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5312-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอารัญย์ มัจฉา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด