กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า


“ โครงการผู้ปกครองเด็กปฐมวัยใส่ใจฟันน้ำนม ”

ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
ทันตแพทย์หญิงอัญวีณ์ อัคราเสรีวงศ์ ตำแหน่ง ทันตแพทย์ชำนาญการพิเศษ

ชื่อโครงการ โครงการผู้ปกครองเด็กปฐมวัยใส่ใจฟันน้ำนม

ที่อยู่ ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L8009-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผู้ปกครองเด็กปฐมวัยใส่ใจฟันน้ำนม จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้ปกครองเด็กปฐมวัยใส่ใจฟันน้ำนม



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ปกครอง มีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก การบริโภคอาหารที่มีผลต่อสุขภาพช่องปาก การบริโภคอาหารที่มีผลต่อสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัย และสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัยได้ด้วยตนเอง (2) 2.เพื่อบูรณากการทันตสุขภาพร่วมกับกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรมของเด็กปฐมวัย (3) 3.เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมอบรมผู้ปกครองในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากการบริโภคอาหารที่มีผลต่อสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้ปกครอง มีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก การบริโภคอาหารที่มีผลต่อสุขภาพช่องปาก การบริโภคอาหารที่มีผลต่อสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัย และสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัยได้ด้วยตนเอง
  2. 2.เพื่อบูรณากการทันตสุขภาพร่วมกับกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรมของเด็กปฐมวัย
  3. 3.เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรมอบรมผู้ปกครองในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากการบริโภคอาหารที่มีผลต่อสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 79
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 79
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. เด็กปฐมวัย และผู้ปกครองของเด็กปฐมวัย ตระหนักถึงการดูแลสุขภาพช่องปากและการบริโภคอาหารที่มีผลต่อสุขภาพช่องปาก 2. ผู้ปกครองสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัยได้ด้วยตนเอง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.กิจกรรมอบรมผู้ปกครองในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากการบริโภคอาหารที่มีผลต่อสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัย

วันที่ 6 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด) 1. ระยะเตรียมการ     - ประสานงานครูผู้ดูแลเด็กเพื่อวางแผนการจัดการโครงการ   - เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ   - จัดทำหนังสือแจ้งศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งหว้า และโรงเรียนอนุบาลอมรรัตน์   - จัดทำเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานตามโครงการ   - ประสานงานกลุ่มเป้าหมาย 2. ระยะดำเนินการ   - กิจกรรมอบรมผู้ปกครองในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากและการบริโภคอาหารที่มีผลต่อสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัย   - กิจกรรมบูรณาการทันตสุขภาพร่วมกับกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรมของเด็กปฐมวัย 3. ระยะประเมินผล   - รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ผล   - สรุปผลดำเนินงาน   - รายงานผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผลการดำเนินงาน โครงการผู้ปกครองเด็กปฐมวัยใส่ใจฟันน้ำนม ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งหว้า ซึ่งผู้เข้าร่วมโครงการประกอบด้วย เด็กปฐมวัยจำนวน 79 คน และผู้ปกครองเด็กปฐมวัย จำนวน 79 คน โดยมีวัตถุประสงค์
    1. เพื่อให้ผู้ปกครอง มีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก การบริโภคอาหารที่มีผลต่อสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัย และสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัยได้ด้วยตนเอง
    2. เพื่อบูรณาการทันตสุขภาพร่วมกับกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรมของเด็กปฐมวัย
    3. เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ โดยมีการดำเนินโครงการในวันที่ 23 สิงหาคม 2562 และวันที่ 6 กันยายน 2562 สำหรับผลการดำเนินโครงการสรุปได้ดังนี้ 1.1 ผลการประเมินกิจกรรมอบรมผู้ปกครอง
      ตัวชี้วัดข้อที่ 1 ผู้ปกครองมีความรู้และสามารถปฏิบัติได้ในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากและการบริโภคอาหารที่มีผลต่อสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติภายหลังจากการได้รับความรู้ ตารางที่ 1 แสดงจำนวนผู้ที่ตอบถูกในช่วงก่อนได้รับความรู้และหลังได้รับความรู้ในเรื่องการดูแล             สุขภาพช่องปากและการบริโภคอาหารที่มีผลต่อสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัย
                  สำหรับผู้ปกครองของเด็กปฐมวัย จำแนกตามรายข้อ

ข้อที่ ข้อความ จำนวนผู้ที่ตอบถูก (คน) ก่อน    (N=79) หลัง      (N=79) 1 ฟันของคนเรามีทั้งหมด 3 ชุด คือ ฟันน้ำนม ฟันแท้ และฟันปลอม  42 37 2 ฟันน้ำนมมีทั้งหมด 20 ซี่ 54 62 3 การที่เด็กรับประทานขนมกรุบกรอบมีผลต่อการเกิดฟันผุ 65 70 4 สาเหตุของการเกิดโรคฟันผุ คือ เกิดจากแมงกินฟัน 36 58 5 การที่เด็กหลับคาขวดนมมีผลต่อการเกิดโรคฟันผุ 65 67 6 โรคฟันผุ เป็นโรคที่ติดต่อทางพันธุกรรม 20 72 ตารางที่ 1 (ต่อ) แสดงจำนวนผู้ที่ตอบถูกในช่วงก่อนได้รับความรู้และหลังได้รับความรู้ในเรื่อง                     การดูแลสุขภาพช่องปากและการบริโภคอาหารที่มีผลต่อสุขภาพช่องปาก                     ของเด็กปฐมวัย สำหรับผู้ปกครองของเด็กปฐมวัย จำแนกตามรายข้อ
ข้อที่ ข้อความ จำนวนผู้ที่ตอบถูก (คน) ก่อน    (N=79) หลัง      (N=79) 7 การเคี้ยวอาหาร เป่าอาหาร อมอาหารแล้วให้เด็กรับประทาน เป็นการแพร่เชื้อโรคฟันผุจากแม่สู่ลูกได้ 31 40 8 การที่เด็กกินนมผงมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุมากกว่ากินนมแม่ 52 62 9 การที่เด็กได้รับฟลูออไรด์มากเกินไป เช่น การกลืนยาสีฟัน จะทำให้ฟันผิดปกติ 18 40 10 การแปรงฟันให้เด็กที่ถูกวิธี คือ การแปรงแบบถูไปถูมา  36 56 11 เด็กควรเลิกดื่มนมจากขวดเมื่ออายุครบ 2 ขวบ 49 34 12 แปรงสีฟันที่ดีควรมีลักษณะขนแปรงแข็ง และปลายแหลม 29 67 13 การถอนฟันน้ำนมไปก่อนกำหนดมีผลต่อการขึ้นของฟันแท้ และทำให้ฟันแท้ซ้อนเก ไม่เป็นระเบียบ 35 52 14 ปริมาณยาสีฟันที่เหมาะสมกับเด็กอายุ 3 - 5 ปี ในการแปรงฟันแต่ละครั้งมีขนาดเท่าความกว้างของแปรง 26 50 15 ควรพาลูกไปพบทันตบุคลากรอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 35 67 16 การทาฟลูออไรด์วานิชทำให้ฟันผุ 26 62 17 เมื่อเด็กปวดฟันแล้วต้องถอน 37 58 18 โรคฟันผุเป็นธรรมชาติของเด็ก 51 53 19 เมื่อเด็กปวดฟันสามารถไปอุดฟันได้ 27 50 20 ควรพาเด็กมาเคลือบฟลูออไรด์อย่างน้อย 6 เดือนครั้ง 59 72


จากตารางที่ 1 การประเมินผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยเกี่ยวกับความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากและการบริโภคอาหารที่มีผลต่อสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัยทั้งก่อนได้รับความรู้และหลังได้รับความรู้ พบว่า
ก่อนได้รับความรู้ มีผู้ทำแบบประเมินจำนวน 79 คน ข้อที่มีผู้ที่ตอบถูกมากที่สุดคือ ข้อที่ 3  การที่เด็กรับประทานขนมกรุบกรอบมีผลต่อการเกิดฟันผุ และ ข้อที่ 5 การที่เด็กหลับคาขวดนมมีผลต่อการเกิดโรคฟันผุ มีผู้ที่ตอบถูกทั้งหมดจำนวน 65 คน ส่วนข้อที่มีผู้ที่ตอบถูกน้อยที่สุดคือ ข้อที่ 9 การที่เด็กได้รับฟลูออไรด์มากเกินไป เช่น การกลืนยาสีฟัน จะทำให้ฟันผิดปกติ มีผู้ที่ตอบถูกทั้งหมดจำนวน 18 คน หลังได้รับความรู้ มีผู้ทำแบบประเมินจำนวน 79 คน ข้อที่มีผู้ที่ตอบถูกมากที่สุดคือ ข้อที่ 6 โรคฟันผุเป็นโรคที่ติดต่อทางพันธุกรรม และข้อที่ 20 ควรพาเด็กมาเคลือบฟลูออไรด์อย่างน้อย 6 เดือนครั้ง มีผู้ที่ตอบถูกทั้งหมดจำนวน 72 คน ส่วนข้อที่มีผู้ที่ตอบถูกน้อยที่สุดข้อที่ 11 เด็กควรเลิกดื่มนมจากขวดเมื่ออายุครบ 2 ขวบ มีผู้ที่ตอบถูกทั้งหมดจำนวน 34 คน

ตารางที่ 2 แสดงค่าเฉลี่ยความรู้ก่อน-หลังการได้รับความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากและ               การบริโภคอาหารที่มีผลต่อสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัย สำหรับผู้ปกครอง               ของเด็กปฐมวัย   การประเมินความรู้ จำนวน(คน)

Mean S.D. Sig. ( 2 – tailed )

ก่อนการได้รับความรู้ (Pre – test) 79 7.79 2.89 0.000

หลังการได้รับความรู้ (Post – test) 79 14.79 2.73
จากตารางที่ 2 การประเมินความรู้ก่อนและหลังได้รับความรู้ พบว่า ก่อนได้รับความรู้ผู้ปกครองมีความรู้เฉลี่ย เท่ากับ 7.79 ± 2.79 คะแนน และหลังได้รับความรู้ผู้ปกครองมีความรู้เฉลี่ยเท่ากับ 14.79 ± 2.73 คะแนน และจากการทดสอบทางสถิติ paired simple t-test พบว่ามีค่านัยสำคัญเท่ากับ 0.000 แสดงว่า ผู้ปกครองมีความรู้เพิ่มขึ้นหลังจากได้รับความรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

สรุปจากตัวชี้วัดข้อที่ 1 ผู้ปกครองมีความรู้และสามารถปฏิบัติได้ในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากและการบริโภคอาหารที่มีผลต่อสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ภายหลังจากการได้รับความรู้ ซึ่งถือว่า ผ่านตัวชี้วัดโครงการ

1.2 ผลการประเมินกิจกรรมบูรณาการทันตสุขภาพร่วมกับกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรมของเด็กปฐมวัย

ตัวชี้วัดข้อที่ 2 ได้กิจกรรมบูรณาการทันตสุขภาพร่วมกับกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรมของเด็กปฐมวัย
ผลการดำเนินงาน ได้จัดกิจกรรมบูรณาการทันตสุขภาพร่วมกับกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรมของเด็กปฐมวัย โดยให้ครูผู้ดูแลเด็กมีส่วนร่วมในการคิดรูปแบบของกิจกรรม และครูผู้ดูแลเด็กสามารถนำกิจกรรมบูรณาการทันตสุขภาพร่วมกับกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรมไปใช้ทำกิจกรรมร่วมกับเด็กปฐมวัย                                                                                              โดยมีรายละเอียดดังตารางที่ 3                                                                      3
ตารางที่ 3 แสดงรายละเอียดการดำเนินกิจกรรมบูรณาการทันตสุขภาพร่วมกับกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม

กิจกรรมหลัก 6 กิจกรรมของเด็กก่อนวัยเรียน วิธีการดำเนินการ อุปกรณ์ ผู้รับผิดชอบ 1. กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
    เป็นกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้เคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกายอย่างอิสระตามจังหวะ โดยใช้เสียงเพลง   ให้เด็กปฐมวัยเต้นประกอบเพลงเกี่ยวกับทันตสุขภาพ   - เพลงเกี่ยวกับทันตสุขภาพ เช่น เพลงเด็กแปรงฟัน เพลงตื่นเช้าเราแปรงฟัน   - ลำโพง นางสาวโรวีนา หมาดบากา 2. กิจกรรมกลางแจ้ง
    เป็นกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้มีโอกาสออกไปนอกห้องเรียนเพื่อออกกำลัง เคลื่อนไหวร่างกาย และแสดงออกอย่างอิสระ   ให้เด็กปฐมวัยวิ่งไปหยิบภาพอาหาร แล้ววิ่งกลับมาตอบว่าเป็นอาหารที่มี หรือไม่มีประโยชน์ ถ้าเป็นอาหารที่มีประโยชน์ให้โยนบอลใส่ตะกร้าสีเขียว แต่ถ้าเป็นอาหารที่ไม่มีประโยชน์ให้โยนบอลใส่ตะกร้าสีแดง   - แผ่นภาพอาหารที่มีหรือไม่มีประโยชน์   - บอล   - ตะกร้า 2 สี นางสาวมัติกา บูเก็ม นางสุภาภรณ์ เจริญฤทธิ์ 3. กิจกรรมเสริมประสบการณ์
    เป็นกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้เด็กได้พัฒนาทักษะการเรียนรู้ ฝึกให้เด็กได้มีโอกาสฟัง พูด สังเกต คิดแก้ปัญหา ใช้เหตุผล และฝึกปฏิบัติเพื่อให้เกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเรื่องที่เรียน   สอนแปรงฟัน โดยใช้ภาพประกอบการแปรงฟันตามเหล่าสัตว์น่ารัก
  สอนเกี่ยวกับอาหารที่มีและไม่มีประโยชน์   - แผ่นภาพสอนแปรงฟันตามเหล่าสัตว์น่ารัก   - แผ่นภาพอาหารที่มีและไม่มีประโยชน์   - โมเดลสอนแปรงฟัน ทพญ.ลีลานุช ช่อชู 4. กิจกรรมสร้างสรรค์
    เป็นกิจกรรมที่ช่วยให้เด็กได้แสดงออกทางอารมณ์ ความรู้สึก ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และจินตนาการโดยใช้ศิลปะ   ให้เด็กฉีก ตัด ปะ กระดาษ สร้างสรรค์ผลงาน และเล่าเรื่องจากภาพที่ระบายสี   ปั้นดินน้ำมันรูปอาหารที่มีประโยชน์ต่อฟัน   - กระดาษสี   - กาว   - ใบกิจกรรมสำหรับสร้างสรรค์ผลงาน   - ดินน้ำมัน นางสาวโรซีต้า ด่วนข้อง


            ตารางที่ 3 (ต่อ) แสดงรายละเอียดการดำเนินกิจกรรมบูรณาการทันตสุขภาพร่วมกับกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม

กิจกรรมหลัก 6 กิจกรรมของเด็กก่อนวัยเรียน วิธีการดำเนินการ อุปกรณ์ ผู้รับผิดชอบ 5. กิจกรรมเสรี
    เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้เด็กได้เล่นกับสื่อ โดยอาจมีการเล่นบทบาทสมมติและเล่นเลียนแบบในมุมต่าง ๆ   ให้เด็กเล่นแสดงบทบาทสมมติ โดยการจัดเป็นมุมหมอฟัน   - อุปกรณ์แต่งตัวเป็นหมอฟัน   - โมเดลอุดฟัน ทพญ.อัญวีณ์ อัคราเสรีวงศ์ 6. กิจกรรมเกมการศึกษา
    เป็นเกมการเล่นที่ช่วยพัฒนาสติปัญญา มีกฎเกณฑ์กติกาง่าย ๆ ช่วยให้เด็กได้รู้จักการสังเกต คิดหาเหตุผลและเกิดความคิดรวบยอด   เกมแผนที่ช่วยพา (ให้เด็ก ๆ ลากเส้นตามคำสั่ง ยกตัวอย่างเช่น แสตมป์ช่วยพาน้องแป้งไปหายาสีฟันหน่อยครับ)   - สีเทียน   - ใบกิจกรรม ทพญ.สกาวพรรณ ตันสกุล
สรุปจากตัวชี้วัดข้อที่ 2 ได้กิจกรรมบูรณาการทันตสุขภาพร่วมกับกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรมของเด็กปฐมวัย โดยครูผู้ดูแลเด็กมีส่วนร่วมในการคิดรูปแบบของกิจกรรม และสามารถนำกิจกรรมบูรณาการทันตสุขภาพร่วมกับกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรมไปใช้ทำกิจกรรมร่วมกับเด็กปฐมวัย ซึ่งถือว่า ผ่านตัวชี้วัดโครงการ

1.3 ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ    
ตัวชี้วัดข้อที่ 3 เด็กเด็กปฐมวัย  และผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจเฉลี่ยต่อโครงการในระดับมากขึ้นไป (คะแนนเฉลี่ยมากกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5)
ตารางที่ 4 แสดงจำนวนและร้อยละของนักเรียนชั้นอนุบาล 1-2 ที่มีระดับความพึงพอใจต่อ

                        โครงการ รูปภาพแสดงความรู้สึก (Emoticon) การแปลผลระดับความพึงพอใจ จำนวน (N = 79) ร้อยละ

ระดับมาก 59 74.7

ระดับปานกลาง 14 17.7

ระดับน้อย 6 7.6

จากตารางที่ 4 การประเมินความพึงพอใจของนักเรียนชั้นอนุบาล 1-2 โดยวิธีการเลือก Emoticon ที่ตรงกับความรู้สึกของเด็กปฐมวัยมากที่สุด พบว่า เด็กปฐมวัยส่วนใหญ่เลือก Emoticon รูปยิ้มที่หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก จำนวน 59 คน คิดเป็นร้อยละ 74.7 มีเด็กปฐมวัยที่เลือก Emoticon รูปหน้านิ่ง ที่หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 17.7 และมีเด็กปฐมวัยที่เลือก Emoticon รูปหน้าบึ้ง ที่หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อย จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 7.6
ตารางที่ 5 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจที่มีต่อโครงการของ

ผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยจำแนกตามรายข้อ
ข้อที่ เกณฑ์การประเมิน Mean S.D. ระดับความ    พึงพอใจ 1 การประชาสัมพันธ์การเข้าร่วมกิจกรรม 4.48 0.59 ดีมาก 2 ความเหมาะสมของสถานที่ที่ใช้ในการทำกิจกรรม 4.48 0.50 ดีมาก 3 ความพร้อมของการจัดโครงการ/กิจกรรม 4.33 0.53 ดีมาก 4 ความเหมาะสมของระยะเวลาในการทำกิจกรรม 4.25 0.70 ดีมาก 5 ลำดับขั้นตอนและความต่อเนื่องของกิจกรรม 4.31 0.68 ดีมาก 6 ความหลากหลายของกิจกรรม 4.21 0.69 ดีมาก 7 ประโยชน์และความรู้ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรม 4.54 0.59 ดีมาก 8 ควรให้มีการจัดกิจกรรมแบบนี้อีก 4.57 0.61 ดีมาก รวม 4.59 0.55 ดีมาก จากตารางที่ 5 การประเมินความพึงพอใจที่มีต่อโครงการของผู้ปกครองของเด็กปฐมวัย จำแนกตามรายข้อพบว่า ผู้ปกครองของเด็กปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อโครงการในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.59 ± 0.55 ข้อที่มีผู้ให้คะแนนความพึงพอใจมากที่สุดคือ ข้อที่ 8 ควรให้มีการจัดกิจกรรมแบบนี้อีก มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.57 ± 0.61 และข้อที่มีผู้ให้คะแนนความพึงพอใจน้อยที่สุดคือข้อที่ 6 ความหลากหลายของกิจกรรม มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.21 ± 0.69
ตารางที่ 6 แสดงจำนวนและร้อยละของการประเมินระดับความพึงพอใจที่มีต่อโครงการของ ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย
ระดับความพึงพอใจ ช่วงคะแนนเฉลี่ย จำนวน (N = 79 คน) ร้อยละ ดีมาก 4.21 – 5.00 50 63.3 ดี 3.41 – 4.20 27 34.2 ปานกลาง 2.61 – 3.40 2 2.5 พอใช้ 1.81 - 2.60 0 0.0 ควรปรับปรุง   1.00 - 1.80 0 0.0 จากตารางที่ 6 การประเมินระดับความพึงพอใจต่อโครงการของผู้ปกครองเด็กปฐมวัย พบว่า ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อโครงการอยู่ในระดับดีมาก จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 63.3 มีความพึงพอใจอยู่ในระดับดี จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 34.2 และมีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 2.5 สรุปตัวชี้วัดข้อที่ 3 เด็กปฐมวัยมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก จำนวน 59 คน คิดเป็นร้อยละ 74.7 ส่วนผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากขึ้นไป จำนวน 77 คน คิดเป็นร้อยละ 97.5 ซึ่งถือว่า ผ่านตัวชี้วัดโครงการ

 

158 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ผลการดำเนินงาน โครงการผู้ปกครองเด็กปฐมวัยใส่ใจฟันน้ำนม ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งหว้า ซึ่งผู้เข้าร่วมโครงการประกอบด้วย เด็กปฐมวัยจำนวน 79 คน และผู้ปกครองเด็กปฐมวัย จำนวน 79 คน โดยมีวัตถุประสงค์
    1. เพื่อให้ผู้ปกครอง มีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก การบริโภคอาหารที่มีผลต่อสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัย และสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัยได้ด้วยตนเอง
    2. เพื่อบูรณาการทันตสุขภาพร่วมกับกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรมของเด็กปฐมวัย
    3. เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ โดยมีการดำเนินโครงการในวันที่ 23 สิงหาคม 2562 และวันที่ 6 กันยายน 2562 สำหรับผลการดำเนินโครงการสรุปได้ดังนี้ 1.1 ผลการประเมินกิจกรรมอบรมผู้ปกครอง
      ตัวชี้วัดข้อที่ 1 ผู้ปกครองมีความรู้และสามารถปฏิบัติได้ในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากและการบริโภคอาหารที่มีผลต่อสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติภายหลังจากการได้รับความรู้ ตารางที่ 1 แสดงจำนวนผู้ที่ตอบถูกในช่วงก่อนได้รับความรู้และหลังได้รับความรู้ในเรื่องการดูแล     สุขภาพช่องปากและการบริโภคอาหารที่มีผลต่อสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัย
          สำหรับผู้ปกครองของเด็กปฐมวัย จำแนกตามรายข้อ

ข้อที่    ข้อความ                    จำนวนผู้ที่ตอบถูก (คน)                         ก่อน (N=79)  หลัง  (N=79) 1 ฟันของคนเรามีทั้งหมด 3 ชุด คือ ฟันน้ำนม ฟันแท้ และฟันปลอม      42        37 2 ฟันน้ำนมมีทั้งหมด 20 ซี่                    54        62 3 การที่เด็กรับประทานขนมกรุบกรอบมีผลต่อการเกิดฟันผุ          65        70 4 สาเหตุของการเกิดโรคฟันผุ คือ เกิดจากแมงกินฟัน          36        58 5 การที่เด็กหลับคาขวดนมมีผลต่อการเกิดโรคฟันผุ            65        67
6 โรคฟันผุ เป็นโรคที่ติดต่อทางพันธุกรรม              20        72

ตารางที่ 1 (ต่อ) แสดงจำนวนผู้ที่ตอบถูกในช่วงก่อนได้รับความรู้และหลังได้รับความรู้ในเรื่อง     การดูแลสุขภาพช่องปากและการบริโภคอาหารที่มีผลต่อสุขภาพช่องปาก     ของเด็กปฐมวัย สำหรับผู้ปกครองของเด็กปฐมวัย จำแนกตามรายข้อ

ข้อที่      ข้อความ                            จำนวนผู้ที่ตอบถูก (คน)                                   ก่อน (N=79)    หลัง (N=79) 7 การเคี้ยวอาหาร เป่าอาหาร อมอาหารแล้วให้เด็กรับประทาน เป็นการแพร่เชื้อโรคฟันผุจากแม่สู่ลูกได้      31      40 8 การที่เด็กกินนมผงมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุมากกว่ากินนมแม่                52      62 9 การที่เด็กได้รับฟลูออไรด์มากเกินไป เช่น การกลืนยาสีฟัน จะทำให้ฟันผิดปกติ            18      40 10 การแปรงฟันให้เด็กที่ถูกวิธี คือ การแปรงแบบถูไปถูมา                    36      56 11 เด็กควรเลิกดื่มนมจากขวดเมื่ออายุครบ 2 ขวบ                      49      34 12 แปรงสีฟันที่ดีควรมีลักษณะขนแปรงแข็ง และปลายแหลม                  29      67 13 การถอนฟันน้ำนมไปก่อนกำหนดมีผลต่อการขึ้นของฟันแท้ และทำให้ฟันแท้ซ้อนเก ไม่เป็นระเบียบ      35      52 14 ปริมาณยาสีฟันที่เหมาะสมกับเด็กอายุ 3 - 5 ปี ในการแปรงฟันแต่ละครั้งมีขนาดเท่าความกว้างของแปรง    26      50 15 ควรพาลูกไปพบทันตบุคลากรอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง                    35      67 16 การทาฟลูออไรด์วานิชทำให้ฟันผุ                          26      62 17 เมื่อเด็กปวดฟันแล้วต้องถอน                            37      58 18 โรคฟันผุเป็นธรรมชาติของเด็ก                            51      53 19 เมื่อเด็กปวดฟันสามารถไปอุดฟันได้                          27      50 20 ควรพาเด็กมาเคลือบฟลูออไรด์อย่างน้อย 6 เดือนครั้ง                    59      72 จากตารางที่ 1 การประเมินผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยเกี่ยวกับความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากและการบริโภคอาหารที่มีผลต่อสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัยทั้งก่อนได้รับความรู้และหลังได้รับความรู้ พบว่า
ก่อนได้รับความรู้ มีผู้ทำแบบประเมินจำนวน 79 คน ข้อที่มีผู้ที่ตอบถูกมากที่สุดคือ ข้อที่ 3 การที่เด็กรับประทานขนมกรุบกรอบมีผลต่อการเกิดฟันผุ และ ข้อที่ 5 การที่เด็กหลับคาขวดนมมีผลต่อการเกิดโรคฟันผุ มีผู้ที่ตอบถูกทั้งหมดจำนวน 65 คน ส่วนข้อที่มีผู้ที่ตอบถูกน้อยที่สุดคือ ข้อที่ 9 การที่เด็กได้รับฟลูออไรด์มากเกินไป เช่น การกลืนยาสีฟัน จะทำให้ฟันผิดปกติ มีผู้ที่ตอบถูกทั้งหมดจำนวน 18 คน หลังได้รับความรู้ มีผู้ทำแบบประเมินจำนวน 79 คน ข้อที่มีผู้ที่ตอบถูกมากที่สุดคือ ข้อที่ 6 โรคฟันผุเป็นโรคที่ติดต่อทางพันธุกรรม และข้อที่ 20 ควรพาเด็กมาเคลือบฟลูออไรด์อย่างน้อย 6 เดือนครั้ง มีผู้ที่ตอบถูกทั้งหมดจำนวน 72 คน ส่วนข้อที่มีผู้ที่ตอบถูกน้อยที่สุดข้อที่ 11 เด็กควรเลิกดื่มนมจากขวดเมื่ออายุครบ 2 ขวบ มีผู้ที่ตอบถูกทั้งหมดจำนวน 34 คน

ตารางที่ 2 แสดงค่าเฉลี่ยความรู้ก่อน-หลังการได้รับความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากและ     การบริโภคอาหารที่มีผลต่อสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัย สำหรับผู้ปกครอง     ของเด็กปฐมวัย


การประเมินความรู้      จำนวน (คน)      Mean    S.D.      Sig.                                       ( 2 – tailed )
ก่อนการได้รับความรู้   (Pre – test)        79        7.79    2.89      0.000

หลังการได้รับความรู้   (Post – test)        79        14.79    2.73        0.000

จากตารางที่ 2 การประเมินความรู้ก่อนและหลังได้รับความรู้ พบว่า ก่อนได้รับความรู้ผู้ปกครองมีความรู้เฉลี่ย เท่ากับ 7.79 ± 2.79 คะแนน และหลังได้รับความรู้ผู้ปกครองมีความรู้เฉลี่ยเท่ากับ 14.79 ± 2.73 คะแนน และจากการทดสอบทางสถิติ paired simple t-test พบว่ามีค่านัยสำคัญเท่ากับ 0.000 แสดงว่า ผู้ปกครองมีความรู้เพิ่มขึ้นหลังจากได้รับความรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
สรุปจากตัวชี้วัดข้อที่ 1 ผู้ปกครองมีความรู้และสามารถปฏิบัติได้ในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากและการบริโภคอาหารที่มีผลต่อสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ภายหลังจากการได้รับความรู้ ซึ่งถือว่า ผ่านตัวชี้วัดโครงการ 1.2 ผลการประเมินกิจกรรมบูรณาการทันตสุขภาพร่วมกับกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรมของเด็กปฐมวัย ตัวชี้วัดข้อที่ 2 ได้กิจกรรมบูรณาการทันตสุขภาพร่วมกับกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรมของเด็กปฐมวัย
ผลการดำเนินงาน ได้จัดกิจกรรมบูรณาการทันตสุขภาพร่วมกับกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรมของเด็กปฐมวัย โดยให้ครูผู้ดูแลเด็กมีส่วนร่วมในการคิดรูปแบบของกิจกรรม และครูผู้ดูแลเด็กสามารถนำกิจกรรมบูรณาการทันตสุขภาพร่วมกับกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรมไปใช้ทำกิจกรรมร่วมกับเด็กปฐมวัย                        โดยมีรายละเอียดดังตารางที่ 3
ตารางที่ 3 แสดงรายละเอียดการดำเนินกิจกรรมบูรณาการทันตสุขภาพร่วมกับกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม กิจกรรมหลัก 6 กิจกรรมของเด็กก่อนวัยเรียน                                          วิธีการดำเนินการ              อุปกรณ์                            ผู้รับผิดชอบ 1. กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
เป็นกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้เคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกายอย่างอิสระตามจังหวะ โดยใช้เสียงเพลง  ให้เด็กปฐมวัยเต้นประกอบเพลงเกี่ยวกับทันตสุขภาพ - เพลงเกี่ยวกับทันตสุขภาพ เช่น เพลงเด็กแปรงฟัน เพลงตื่นเช้าเราแปรงฟัน - ลำโพง นางสาวโรวีนา หมาดบากา 2. กิจกรรมกลางแจ้ง
เป็นกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้มีโอกาสออกไปนอกห้องเรียนเพื่อออกกำลัง เคลื่อนไหวร่างกาย และแสดงออกอย่างอิสระ ให้เด็กปฐมวัยวิ่งไปหยิบภาพอาหาร แล้ววิ่งกลับมาตอบว่าเป็นอาหารที่มี หรือไม่มีประโยชน์ ถ้าเป็นอาหารที่มีประโยชน์ให้โยนบอลใส่ตะกร้าสีเขียว แต่ถ้าเป็นอาหารที่ไม่มีประโยชน์ให้โยนบอลใส่ตะกร้าสีแดง - แผ่นภาพอาหารที่มีหรือไม่มีประโยชน์ - บอล - ตะกร้า 2 สี นางสาวมัติกา บูเก็ม นางสุภาภรณ์ เจริญฤทธิ์ 3. กิจกรรมเสริมประสบการณ์
เป็นกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้เด็กได้พัฒนาทักษะการเรียนรู้ ฝึกให้เด็กได้มีโอกาสฟัง พูด สังเกต คิดแก้ปัญหา ใช้เหตุผล และฝึกปฏิบัติเพื่อให้เกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเรื่องที่เรียน  สอนแปรงฟัน โดยใช้ภาพประกอบการแปรงฟันตามเหล่าสัตว์น่ารัก
สอนเกี่ยวกับอาหารที่มีและไม่มีประโยชน์ - แผ่นภาพสอนแปรงฟันตามเหล่าสัตว์น่ารัก - แผ่นภาพอาหารที่มีและไม่มีประโยชน์ - โมเดลสอนแปรงฟัน ทพญ.ลีลานุช ช่อชู 4. กิจกรรมสร้างสรรค์
เป็นกิจกรรมที่ช่วยให้เด็กได้แสดงออกทางอารมณ์ ความรู้สึก ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และจินตนาการโดยใช้ศิลปะ  ให้เด็กฉีก ตัด ปะ กระดาษ สร้างสรรค์ผลงาน และเล่าเรื่องจากภาพที่ระบายสี ปั้นดินน้ำมันรูปอาหารที่มีประโยชน์ต่อฟัน  - กระดาษสี - กาว - ใบกิจกรรมสำหรับสร้างสรรค์ผลงาน - ดินน้ำมัน นางสาวโรซีต้า ด่วนข้อง     ตารางที่ 3 (ต่อ) แสดงรายละเอียดการดำเนินกิจกรรมบูรณาการทันตสุขภาพร่วมกับกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม

กิจกรรมหลัก 6 กิจกรรมของเด็กก่อนวัยเรียน                    วิธีการดำเนินการ                        อุปกรณ์                          ผู้รับผิดชอบ 5. กิจกรรมเสรี
เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้เด็กได้เล่นกับสื่อ โดยอาจมีการเล่นบทบาทสมมติและเล่นเลียนแบบในมุมต่าง ๆ ให้เด็กเล่นแสดงบทบาทสมมติ โดยการจัดเป็นมุมหมอฟัน  - อุปกรณ์แต่งตัวเป็นหมอฟัน - โมเดลอุดฟัน ทพญ.อัญวีณ์ อัคราเสรีวงศ์ 6. กิจกรรมเกมการศึกษา
เป็นเกมการเล่นที่ช่วยพัฒนาสติปัญญา มีกฎเกณฑ์กติกาง่าย ๆ ช่วยให้เด็กได้รู้จักการสังเกต คิดหาเหตุผลและเกิดความคิดรวบยอด เกมแผนที่ช่วยพา (ให้เด็ก ๆ ลากเส้นตามคำสั่ง ยกตัวอย่างเช่น แสตมป์ช่วยพาน้องแป้งไปหายาสีฟันหน่อยครับ)  - สีเทียน - ใบกิจกรรม ทพญ.สกาวพรรณ ตันสกุล
สรุปจากตัวชี้วัดข้อที่ 2 ได้กิจกรรมบูรณาการทันตสุขภาพร่วมกับกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรมของเด็กปฐมวัย โดยครูผู้ดูแลเด็กมีส่วนร่วมในการคิดรูปแบบของกิจกรรม และสามารถนำกิจกรรมบูรณาการทันตสุขภาพร่วมกับกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรมไปใช้ทำกิจกรรมร่วมกับเด็กปฐมวัย ซึ่งถือว่า ผ่านตัวชี้วัดโครงการ

1.3 ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ตัวชี้วัดข้อที่ 3 เด็กเด็กปฐมวัย และผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจเฉลี่ยต่อโครงการในระดับมากขึ้นไป (คะแนนเฉลี่ยมากกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5) ตารางที่ 4 แสดงจำนวนและร้อยละของนักเรียนชั้นอนุบาล 1-2 ที่มีระดับความพึงพอใจต่อ       โครงการ รูปภาพแสดงความรู้สึก (Emoticon) การแปลผลระดับความพึงพอใจ จำนวน (N = 79) ร้อยละ

ระดับมาก 59 74.7

ระดับปานกลาง 14 17.7

ระดับน้อย 6 7.6

จากตารางที่ 4 การประเมินความพึงพอใจของนักเรียนชั้นอนุบาล 1-2 โดยวิธีการเลือก Emoticon ที่ตรงกับความรู้สึกของเด็กปฐมวัยมากที่สุด พบว่า เด็กปฐมวัยส่วนใหญ่เลือก Emoticon รูปยิ้มที่หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก จำนวน 59 คน คิดเป็นร้อยละ 74.7 มีเด็กปฐมวัยที่เลือก Emoticon รูปหน้านิ่ง ที่หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 17.7 และมีเด็กปฐมวัยที่เลือก Emoticon รูปหน้าบึ้ง ที่หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อย จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 7.6 ตารางที่ 5 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจที่มีต่อโครงการของ ผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยจำแนกตามรายข้อ
ข้อที่ เกณฑ์การประเมิน Mean S.D. ระดับความ  พึงพอใจ 1 การประชาสัมพันธ์การเข้าร่วมกิจกรรม 4.48 0.59 ดีมาก 2 ความเหมาะสมของสถานที่ที่ใช้ในการทำกิจกรรม 4.48 0.50 ดีมาก 3 ความพร้อมของการจัดโครงการ/กิจกรรม 4.33 0.53 ดีมาก 4 ความเหมาะสมของระยะเวลาในการทำกิจกรรม 4.25 0.70 ดีมาก 5 ลำดับขั้นตอนและความต่อเนื่องของกิจกรรม 4.31 0.68 ดีมาก 6 ความหลากหลายของกิจกรรม 4.21 0.69 ดีมาก 7 ประโยชน์และความรู้ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรม 4.54 0.59 ดีมาก 8 ควรให้มีการจัดกิจกรรมแบบนี้อีก 4.57 0.61 ดีมาก รวม 4.59 0.55 ดีมาก จากตารางที่ 5 การประเมินความพึงพอใจที่มีต่อโครงการของผู้ปกครองของเด็กปฐมวัย จำแนกตามรายข้อพบว่า ผู้ปกครองของเด็กปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อโครงการในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.59 ± 0.55 ข้อที่มีผู้ให้คะแนนความพึงพอใจมากที่สุดคือ ข้อที่ 8 ควรให้มีการจัดกิจกรรมแบบนี้อีก มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.57 ± 0.61 และข้อที่มีผู้ให้คะแนนความพึงพอใจน้อยที่สุดคือข้อที่ 6 ความหลากหลายของกิจกรรม มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.21 ± 0.69
ตารางที่ 6 แสดงจำนวนและร้อยละของการประเมินระดับความพึงพอใจที่มีต่อโครงการของ ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย
ระดับความพึงพอใจ ช่วงคะแนนเฉลี่ย จำนวน (N = 79 คน) ร้อยละ ดีมาก 4.21 – 5.00 50 63.3 ดี 3.41 – 4.20 27 34.2 ปานกลาง 2.61 – 3.40 2 2.5 พอใช้ 1.81 - 2.60 0 0.0 ควรปรับปรุง 1.00 - 1.80 0 0.0 จากตารางที่ 6 การประเมินระดับความพึงพอใจต่อโครงการของผู้ปกครองเด็กปฐมวัย พบว่า ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อโครงการอยู่ในระดับดีมาก จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 63.3 มีความพึงพอใจอยู่ในระดับดี จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 34.2 และมีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 2.5 สรุปตัวชี้วัดข้อที่ 3 เด็กปฐมวัยมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก จำนวน 59 คน คิดเป็นร้อยละ 74.7 ส่วนผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากขึ้นไป จำนวน 77 คน คิดเป็นร้อยละ 97.5 ซึ่งถือว่า ผ่านตัวชี้วัดโครงการ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้ปกครอง มีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก การบริโภคอาหารที่มีผลต่อสุขภาพช่องปาก การบริโภคอาหารที่มีผลต่อสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัย และสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัยได้ด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด : 1.ผู้ปกครองมีความรู้และสามารถปฏิบัติงานได้ในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากและการบริโภคอาหารที่มีผลต่อสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติภายหลังจากการได้รับความรู้
0.00 0.00

 

2 2.เพื่อบูรณากการทันตสุขภาพร่วมกับกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรมของเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : 2.ได้กิจกรรมบูรณากการทันตสุขภาพร่วมกับกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรมของเด็กปฐมวัย
0.00

 

3 3.เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ตัวชี้วัด : 3.เด็กปฐมวัยและผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจเฉลี่ยต่อโครงการในระดับมากขึ้นไป(คะแนนฌเฉลี่ยมากกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5)
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 158 158
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 79 79
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 79 79
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ปกครอง มีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก การบริโภคอาหารที่มีผลต่อสุขภาพช่องปาก การบริโภคอาหารที่มีผลต่อสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัย และสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัยได้ด้วยตนเอง (2) 2.เพื่อบูรณากการทันตสุขภาพร่วมกับกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรมของเด็กปฐมวัย (3) 3.เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมอบรมผู้ปกครองในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากการบริโภคอาหารที่มีผลต่อสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการผู้ปกครองเด็กปฐมวัยใส่ใจฟันน้ำนม

รหัสโครงการ 62-L8009-1-03 ระยะเวลาโครงการ 1 มิถุนายน 2562 - 30 กันยายน 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการผู้ปกครองเด็กปฐมวัยใส่ใจฟันน้ำนม จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L8009-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ทันตแพทย์หญิงอัญวีณ์ อัคราเสรีวงศ์ ตำแหน่ง ทันตแพทย์ชำนาญการพิเศษ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด