กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภค ประจำปี 2560
รหัสโครงการ 60-L2482-1-4
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านโคกยาง
วันที่อนุมัติ 31 มีนาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน 10 ตุลาคม 2560
งบประมาณ 6,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางวิภาวรรณ ศรีสังข์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ร้านค้า ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารในเขตรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลโฆษิต
ละติจูด-ลองจิจูด 6.175,102.052place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มี.ค. 2560 30 ก.ย. 2560 6,000.00
รวมงบประมาณ 6,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ตามแนวคิดหลักของการพัฒนาสุขภาพ ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้มุ่งเน้นการสร้างสุขภาพมากกว่าการซ่อมสุขภาพ ดังนั้นจึงมีการกำหนดยุทธศาสตร์ในการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ โดยมุ่งเน้านปัจจัยพื้นฐาน 4 ประการได้แก่ ด้านสุขภาพจิต การออกกำลังกาย การอนามัยสิ่งแวดล้อม และอาหารสะอาดปลอดภัย ซึ่งจะนำไปสู่สุขภาวะที่ดีด้วย ปัจจัยพื้นฐานด้านอาหารนับว่าเป็นส่ิงที่ส่งผลต่อสุขภาพของประชาชน การจัดการอาหารที่ดี นอกจากจะคำนึงถึงรสชาติและ ยังต้องคำนึงถึงความปลอดภัยในอาหารเป็นสำคัญ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะคำนึงถึงรสชาติแล้ว ยังต้องคำนึงถึงความปลอดภัยในอาหารเป็นสำคัญ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร เจ้าของร้านขายของชำ รวมถึง อสม. และผู้นำนักเรียน อย.น้อย ต้องมีความรู้ความเข้าใจอย่างถูกต้องเกี่ยวกับการสุขาภิบาลอาหารทุกขั้นตอน และตระหนักถึงความสำคัญในการประกอบอาหารที่สะอาดและปลอดภัยต่อผู้บริโภค ดังนี้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านโคกยาง มีร้านชำ ร้านขายอหาร จำนวน 29 แห่ง ได้เห็นความสำคัญของการปรับปรุงให้ัถูกต้องได้มาตรฐานจึงได้จัดทำโครงการอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภค ประจำปี 2560 เพื่อไม่ให้ผู้บริโภคได้รับอันตรายหรือพิษภัยจากอาหาร ตามหลักสุขาภิบาลอาหารต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อสร้างเสริมความรู้ ความตระหนัก และพฤติกรรมที่ถูกต้องด้านอาหารปลอดภัยให้กับผู้ประกอบการ

 

2 2. เพื่อยกระดับการจำหน่ายอาหารให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานท้องถิ่น

 

3 3. เพื่อให้ผู้ประกอบการและผู้นำชุมชนได้เผยแพร่ความรู้ด้านอาหารปลอดภัยสู่ผู้บริโภคในชุมชน

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. ประชุมเจ้าหน้่าที่และผู้เกี่ยวข้อง เพื่อรับทราบโครงการ
  2. ดำเนินการสำรวจประเมินแผงลอยจำหน่ายอาหาร ร้านชำ และร้านน้ำชา
  3. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ 1 วัน โดยมุ่งเน้นให้มีความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหาร แนวทางการยกระดับมาตรฐานของแผงลอยจำหน่ายอาหาร ร้านชำ ร้านน้ำชา
  4. ตรวจแนะนำและยกระดับมาตรฐานในร้านจำหน่ายอาหารแผงลอยจำหน่ายอาหารซ้ำเพื่อประเมินความก้าวหน้า
  5. ให้ความรู้ด้านอาหารปลอดภัยผ่านส่ื่อต่างๆ เช่น หอกระจายข่าว นิทรรศการ ฯลฯ
  6. สรุปประเมินผลโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้ประกอบการมีความรู้ ความตระหนัก และพฤติกรรมที่ถูกต้องด้านสุขาภิบาลอาหาร
  2. แผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานท้องถิ่นทุกแห่ง
  3. ผู้ประกอบการและผู้นำชุมชนสามารถเผยแพร่ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารสู่ผู้บริโภคในชุมชนได้
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 เม.ย. 2560 15:33 น.