กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) จากสภาพปัจจุบันและปัญหาการผดุงครรภ์ไทย เน้นไปที่การดูแลมารดาในระยะหลังคลอดโดยเฉพาะในช่วง 2 เดือนแรก เนื่องจากกระบวนการตั้งครรภ์และกระบวนการคลอดทำให้มารดาหลังคลอดบุตรใหม่ๆ มีปัญหาสุขภาพและจำเป็นต้องได้รับกระบวนการฟื้นฟูส่วนใหญ่ พบว่ามารดาหลังคลอดมักเผชิญกับปัญหาต่างๆ ดังต่อไปนี้ อาการอ่อนเพลีย หน้ามืดตาลาย เนื่องจากมีการเสียเลือด เสียเหงื่อ และเสียแรงมากในขณะคลอด และมีของเสียตกค้างหลังการคลอด สามารถป้องกันและแก้ไขได้โดยการรักษาความอบอุ่นของร่างกาย พักผ่อนให้พอเพียง ไม่ทำงานหนัก รับประทานอาหารที่ย่อยง่าย ดูดซึมเร็ว มีกากใย ควรดื่มน้ำมากๆ ได้รับการนวดฟื้นฟูสุขภาพมารดาหลังคลอดเพื่อลดความเมื่อยล้า การส่งเสริมสุขภาพหญิงหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทยได้ยึดถือปฏิบัติที่มีกันมาหลายยุคหลายสมัย โดยเฉพาะสังคมชนบทที่มีวิธีการดูแลหญิงหลังคลอด ด้วยวิธีการอยู่ไฟ  ประคบสมุนไพร อบไอน้ำสมุนไพร การเข้ากระโจม การทับหม้อเกลือ และการใช้สมุนไพรต่างๆ ในการดูแลสุขภาพที่ล้วนมีผลดีต่อหญิงหลังคลอด ถือได้ว่าเป็นลักษณะเด่นของการแพทย์แผนไทยที่มีลักษณะการดูแลเป็นแบบองค์รวม ที่มิได้แยกบุคคลออกจากครอบครัว  ปัจจุบัน รพ.สต.ปากแจ่ม ปี 62 มีหญิงตั้งครรภ์ จำนวน ๑๘ คนและหญิงหลังคลอดในเขตพื้นที่รับผิดชอบจำนวน ๔๒ คน ดังนั้นรพ.สต.ปากแจ่ม จึงได้จัดทำโครงการมารดาหลังคลอดสุขภาพดี ด้วยวิถีและศาสตร์การแพทย์แผนไทย เพื่อเป็นทางเลือกในการดูแลสุขภาพมารดาหลังคลอดโดยใช้ภูมิปัญญาแพทย์พื้นบ้านด้วยการแพทย์แผนไทย เพื่อช่วยลดอาการปวดคัดตึงเต้านม กระตุ้นการหลั่งน้ำนม  ทำให้หน้าท้องยุบเร็ว น้ำคาวปลาไหลออกดีขึ้น และส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ช่วยให้ฟื้นตัวหลังคลอดได้เร็วขึ้น สามารถกลับมาทำงานได้เป็นปกติ โดยครอบครัวเป็นผู้ดูแลหลักอันจะส่งผลให้หญิงหลังคลอดเกิดความอบอุ่น ช่วยส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตมารดาหลังคลอด โดยให้ความตระหนักถึงคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่น ๒. วัตถุประสงค์ ๒.๑.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด มีความรู้ในการดูแลตนเองและมีทักษะกายบริหารมารดาหลังคลอด            ๒.๒.เพื่อให้หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยครบตามเกณฑ์มาตรฐาน            ๒.๓.เพื่อพัฒนาคลินิกแพทย์แผนไทยสำหรับให้บริการหญิงหลังคลอด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ