กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา


“ พัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)สู่แกนนำด้านสุขภาพยุค 4.0 ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ปี2562 ”

ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสุดนิสา เจ๊ะอุบง

ชื่อโครงการ พัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)สู่แกนนำด้านสุขภาพยุค 4.0 ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ปี2562

ที่อยู่ ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง 30 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"พัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)สู่แกนนำด้านสุขภาพยุค 4.0 ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ปี2562 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
พัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)สู่แกนนำด้านสุขภาพยุค 4.0 ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ปี2562



บทคัดย่อ

โครงการ " พัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)สู่แกนนำด้านสุขภาพยุค 4.0 ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ปี2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - 30 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 163,420.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชนที่มุ่งเน้นการป้องกัน การเฝ้าระวัง การส่งเสริมสุขภาพ การสร้างสุขภาพที่ดีและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ให้มีประสิทธิภาพและบรรลุผลนั้น มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่อาสาสมัครสาธารณสุขจะต้องมีองค์ความรู้ทางด้านวิชาการ มีทักษะการปฏิบัติงานควบคู่พร้อมกัน จึงจะทำให้การดำเนินงานด้านสุขภาพภาคประชาชนสัมฤทธิ์ผลอันจะนำสู่การมีสุขภาวะที่ดีของชุมชนได้อย่างแท้จริง ด้วยเหตุผลดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลได้เล็งเห็นบทบาทและหน้าที่สำคัญของ อสม. จึงได้จัดโครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) สู่แกนนำด้านสุขภาพยุค 4.0 ขึ้น ทั้งนี้โดยมุ่งหวังที่จะยกระดับและพัฒนาขีดความสามารถของอาสาสมัครสาธารณสุข ให้ทันต่อโรค ทันต่อวิทยาการสมัยใหม่ และให้เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ เพื่อนำไปสู่การมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ด้านวิชาการและทักษะการปฏิบัติงานให้กับ อสม.
  2. ศสมช.มีอุปกรณ์พร้อมใช้สำหรับ อสม.ใช้คัดกรองสภาวะสุขภาพของคนในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดหาครุภัณฑ์ที่ใช้ในการดำเนินโครงการและมีพร้อมใช้ทุก ศสมช.
  2. อบรมด้านวิชาการและฝึกทักษะการปฏิบัติ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 81
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อสม.มีความรู้ และทักษะ สามารถนำไปปฏิบัติงานด้านสุขภาพภาคประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพและเห็นผลสัมฤทธิ์ 2.อสม. มีความรัก สามัคคี เน้นการทำงานเป็นทีม ในการจัดการด้านสุขภาพในชุมชนได้อย่างต่อเนื่อง 3.ในแต่ละชุมชน สามารถจัดการกับระบบสุขภาพของชุมชนได้อย่างเหมาะสมด้วยตัวชุมชนเองเพื่อนำไปสู่หมู่บ้านสุขภาพดี 4.ศสมช.มีความพร้อมในการให้บริการประชาชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดหาครุภัณฑ์ที่ใช้ในการดำเนินโครงการและมีพร้อมใช้ทุก ศสมช.

วันที่ 8 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อครุภัณฑ์ และวัสดุในการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รับวัสดุและครุภัณฑ์ตามที่ระบุไว้ในโครงการ

 

81 0

2. อบรมด้านวิชาการและฝึกทักษะการปฏิบัติ

วันที่ 2 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ - เรื่อง บทบาทการเขียนแผนที่ชุมชนกับการบันทึกจัดเก็บข้อมูลสุขภาพ - เรื่องอุบัติเหตุฉุกเฉิน การปฐมพยาบาลเบื้องต้น - เรื่อง โรคติดต่อ และการสร้างภูมิคุ้มกันโรค - เรื่อง การดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง และการดูแลสุขภาพจิตผู้สูงอายุ - เรื่อง การคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน - เรื่อง โรคมะเร็ง และการคัดกรองมะเร็งเต้านม - เรื่อง ส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก - แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเสริมพลังใจในการปฏิบัติงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • หลังการอบรม อสม.มีความรู้เพิ่มขึ้น
  • ประชาชนสามารถเข้าถึงการคัดกรองโรค HT/DM
  • ศสมช. มีความพร้อมในการให้บริการเชิงรุก

 

81 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มพูนความรู้ด้านวิชาการและทักษะการปฏิบัติงานให้กับ อสม.
ตัวชี้วัด : อสม.มีความรู้ด้านการดูแลสุขภาพประชาชนในชุมชน
81.00

 

2 ศสมช.มีอุปกรณ์พร้อมใช้สำหรับ อสม.ใช้คัดกรองสภาวะสุขภาพของคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ศสมช.มีอุปกรณ์พร้อมใช้สำหรับ อสม.ใช้คัดกรองสภาวะสุขภาพของคนในชุมชน
8.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 81
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 81
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มพูนความรู้ด้านวิชาการและทักษะการปฏิบัติงานให้กับ อสม. (2) ศสมช.มีอุปกรณ์พร้อมใช้สำหรับ อสม.ใช้คัดกรองสภาวะสุขภาพของคนในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดหาครุภัณฑ์ที่ใช้ในการดำเนินโครงการและมีพร้อมใช้ทุก ศสมช. (2) อบรมด้านวิชาการและฝึกทักษะการปฏิบัติ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


พัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)สู่แกนนำด้านสุขภาพยุค 4.0 ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ปี2562 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุดนิสา เจ๊ะอุบง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด