กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภค ปี 2560
รหัสโครงการ 60-L2482-1-6
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านโคกมือบา
วันที่อนุมัติ 31 มีนาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน 10 ตุลาคม 2560
งบประมาณ 10,500.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกมือบา
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.175,102.052place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2559 30 ก.ย. 2560 10,500.00
รวมงบประมาณ 10,500.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของร้านชำในพื้นที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
60.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ตามแนวคิดหลักการพัฒนาสุขภาพ ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้มุ่งเน้นการสร้างสุขภาพมากกว่าการซ่อมสุขภาพ ดังนั้นจึงมีการกำหนดยุทธศาสตร์ในการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ โดยมุ่งเน้นปัจจัยพื้นฐาน 4 ประการได้แก่ ด้านสุขภาพจิต การออกกำลังกาย การอนามัยสิ่งแวดล้อม และอาหารสะอาดปลอดภัย ซึ่งจะนำไปสู่สุขภาวะที่ดีด้วย ปัจจัยพื้นฐานด้านอาหารนับว่าเป็นสิ่งที่ส่งผลต่อสุขภาพของประชาชน การจัดการอาหารที่ดี นอกจากจะคำนึกถึงรสชาดอาหารแล้ว ยังต้องคำนึงถึงความปลอดภัยในอาหารเป็นสำคัญ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ เจ้าของร้านขายของชำในหมู่บ้าน ต้องมีความรู้ ความเข้าใจอย่างถูกต้องเกี่ยวกับการสุขาภิบาลอาหารทุกขั้นตอน และตระหนักถึงความสำคัญในการจำหน่ายสินค้าที่สะอาดและปลอดภัยต่อผู้บริโภค ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านโคกมือบา ซึงอยู่ในความรับผิดชอบของ องค์การบริหารส่วนตำบลโฆษิต จำนวนหมู่บ้าน 3 หมู่บ้าน มีร้านชำ จำนวน 17 ร้าน ทางเจ้าหน้าที่สาธารณสุขได้เห็นความสำคัญของการประกอบอาหาร การจำหน่ายอาหาร ให้ถูกต้องได้มาตรฐานและเกิดความปลอดภัยต่อผู้บริโภค เพื่อไม่ให้ผู้บริโภคได้รับอันตรายหรือพิษภัยจากอาหารน้อยลง ตามหลักสุขาภิบาลอาหารต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อผู้ประกอบการร้านชำมีความรู้ความเข้าใจในการจำหน่ายของในร้านชำ

ร้านชำในพื้นที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานร้านชำร้อยละ 60

0.00
2 2. เพื่อให้ร้านชำในหมู่บ้านเป็นร้านขายของชำที่ปลอดภัยและน่าเชื่อ

ร้านชำในพื้นที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานร้านชำร้อยละ 60

3 3. เพื่อให้ผู้บริโภคได้บริโภคอาหารที่ปลอดจากร้านชำในหมู่บ้าน

ร้านชำในพื้นที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานร้านชำร้อยละ 60

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 6,000.00 2 5,100.00
1 ต.ค. 59 - 30 ก.ย. 60 ค่าจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ร้านชำปลอดภัยน่าซื้อ เป้าหมาย 3 ป้าย500 บาท 0 1,500.00 1,500.00
1 ต.ค. 59 - 30 ก.ย. 60 ค่าตอบแทนกรรมการ เป้าหมาย 3 ท่าน 300 บาท 0 900.00 -
9 ก.ค. 61 ค่าอาหารว่าง อาหารกลางวันและเครื่องดื่ม 0 3,600.00 3,600.00
  1. ประชุมเจ้าหน้าที่และผู้เกี่ยวข้อง เพื่อสำรวจจำนวนร้านชำ และร้านอาหารในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
  2. จัดทำโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ
  3. ดำเนินการสำรวจประเมิน ร้านชำ
  4. ตรวจแนะนำและยกระดับมาตรฐานร้านชำ
  5. ประกวดร้านชำปลอดภัยน่าซื้อ
  6. สรุปประเมินผลโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้ประกอบการร้านชำ มีความรู้ และพฤติกรรมที่ถูกต้องในการจำหน่ายสินค้า
  2. ร้านชำผ่านเกณฑ์มาตรฐานร้านชำ
  3. ผู้บริโภคได้รับสินค้าที่ปลอดภัยจากร้านชำในหมู่บ้าน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 12 เม.ย. 2560 11:22 น.