กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการ "เตือนภัยเงียบ จากโรคเรื้อรัง" ประจำปี 2562
รหัสโครงการ 62-L 2503-01-06
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านซีโป
วันที่อนุมัติ 10 เมษายน 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2561 - 31 ธันวาคม 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2562
งบประมาณ 17,300.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวยุสรอ อียง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเฉลิม อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.291,101.641place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 12 ก.ย. 2562 12 ก.ย. 2562 17,300.00
รวมงบประมาณ 17,300.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 132 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วยปัจจุบันกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสำคัยทางสาธารณสุขและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะโรคเบาหวาน(DM)และโรคความดันโลหิตสูง (HT) เป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดภาวะโรคแทรกซ้อน ทำใ้เกิดความพิการและตายก่อนวันอันควร การเกิดโรคมีสาเหตุจากหลายปัจจัยเสี่ยงที่มาจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย และนำไปสู่การเจ็บป่วยแทรกซ้อนที่สำคัญ อาทิ โรคจอประสาทเสื่อม โรคไตวายเรื้อรัง (CKD) โรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD) แผลเรื้อรัง การถูกตัดขา ตัดนิ้ว เป็นต้น ความเจ็บป่วยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยตลอดจนค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขโดยรวม สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข และสถาบันโภชนาการมหาวิทยาลัยมหิดลได้ตระหนักถึงความสำคัญที่ต้องสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนและระดมพลังทั้งสังคมเพื่อแก้ไขและขจัดปัญหาดังกล่าวผ่านกระบวนการทำแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย พ.ศ.2554-2563 ซึ่งเป็นแผนระดับชาติเพื่อใช้เป็นกรอบชี้ทิศทางการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติการอย่างบูรณาการเป็นเอกภาพด้วยการรวมพลังขับเคลื่อนจากทุกภาคส่วนประชาชนมีศักยภาพในการจัดการปัจจัยเสี่ยงและสภาพแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อโรควิถีชีวิตเพื่อปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตใหม่ที่ลดเสี่ยงลดโรคลดภาวะแทรกซ้อน ลดการพิการ ลดความตาย และลดภาระค่าใช้จ่ายทั้งระดับบุคคล ครอบครัวชุมชนสังคมสังคมสุขภาวะบนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านซีโป ได้ดำเนินตามนโยบายสาธารณสุข จัดให้มีดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในพื้นที่ 4 หมู่บ้านในปี 2562 มีผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรคความดันโลหิตสูงทั้งหมด 228 รายมีภาวะโรคแทรกซ้อน 18 ราย โรคเบหวาน 34 รายมีภาวะแทรกว้อน 71 ราย โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 58 ราย เข้ารับบริการคลินิกโรคเรื้อรังของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านซีโป จำนวน 110 รายโรคความดันโลหิตสูง ควบคุมโรคได้ 50คนคิดเป็นร้อยละ46.73โรคเบาหวาน ควบคุมได้ 4 คนคิดเป็นร้อยละ10.81 จะเห็นได้ว่ามีการควบคุมโรคได้น้อยเพื่อให้มีการดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ในคลินิกโรคเรื้อรังและพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านซีโป เป็นแบบองค์รวม และเกิดการบูรณาการให้ผู้ป่วยและญาติดูแลตนเองได้ สามารถควบคุมภาวะอาการของโรคได้ และลดการตายภาวะแทรกซ้อน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านซีโป จึงขอสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการดูแลผู้ป่วยเบาหวานและความดันในคลินิกโรคเรื้อรัง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายตระหนักรู้ในการดูแลตนเอง 2.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถดูแลตนเองได้

 

132.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 132 17,300.00 1 17,300.00
12 ก.ย. 62 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเองให้ห่างไกลภาวะแทรกซ้อนในโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน 132 17,300.00 17,300.00

1.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ และขอสนับสนุนงบประมาณ 2.จัดทำโครงการเนอผู้มีอำนาจ เพื่อขออนุมัติ ขั้นดำเนินงาน 1.สำรวจข้อมูลของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 2.ประสานให้ อสม.ในพื้นที่รับผิดชอบติดตามให้ความรู้ 3.ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่อง ภาวะแทรกซ้อนจากการขาดยา 4.จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน -ทำแบบทดสอบถามก่อนและหลัง เรื่อง ภาวะแทรกซ้อนจากการขาดยา -ทำแบบสอบ-ถามความพึงพอใจในการจัดแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 5.ติดตามการมาใช้บริการของผู้ป่วยให้ผู้ป่วยที่เข้าร่วมโครงการมาตามนัด

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับยาที่เพียงพอกับจำนวนที่นัดหมายร้อยละ 100 2.ผู้ป่วยมารับบริการตามนัดหมายร้อยละ 95

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 3 ก.ค. 2562 14:05 น.