กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

-  อบรมให้ความรู้ผู้ปกครอง และนักเรียนระดับปฐมวัย เรื่อง ดูแลรักษาสุขภาพช่องปากและฟัน   อย่างถูกต้อง  ในวันที่ 22 สิงหาคม 2562 ณ ห้องประชุมโรงเรียนเทศบาลวัดตรังคภูมิ   พุทธาวาส จำนวน 44 คน - สาธิตการแปรงฟันที่ถูกวิธี โดยแบ่งกลุ่มให้ผู้ปกครองแปรงฟันของเด็กแต่ละคน ซึ่งทางวิทยากรจะให้คำแนะนำในขณะแปรงฟันแต่ละราย และการตรวจสุขภาพช่องปาก/ฟันของเด็ก จำนวนเด็ก 44 คน - ทดสอบความรู้ก่อน-หลังอบรม ของผู้ปกครอง จำนวน 44 คน
- นักเรียนได้รับการส่งเสริมดูแลรักษาสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกต้อง มีความรับผิดชอบในการแปรงฟันที่ถูกวิธี หลังรับประทานอาหารกลางวันทุกวัน โดยการดูแลของครูประจำชั้น ระดับปฐมวัย ผู้รับผิดชอบโครงการ และต่อเนื่องด้วยผู้ปกครองเมื่อแปรงฟันที่บ้าน และได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และฟันจากเจ้าหน้าสาธาณสุขเทศบาลเมืองกันตัง ได้รับการอบรมการรักษาสุขภาพช่องปากและฟันที่ถูกต้องโดยตรงจากทันตแพทย์โรงพยาบาลกันตัง บรรลุผลตามตัวชี้วัดของโครงการ คือ     1. ร้อยละ100 ของนักเรียนชั้น อ.1 – อ.3 ในโรงเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก 2. ร้อยละ 60 ของผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเพิ่มขึ้นหลังเข้ารับการอบรม 3. นักเรียนชั้นอนุบาล 1 - 3 เข้าร่วมกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน ร้อยละ 100 4. ร้อยละ 100 ของนักเรียนชั้น อ.1 – อ.3 ในรายที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากและฟัน ได้รับการส่งต่อ       เพื่อรับการรักษาด้านทันตกรรมตามความเหมาะสม         บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ของโครงการ คือ 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกต้อง สามารถลดโรคฟันผุได้ในระดับหนึ่ง 2. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันของบุตรหลาน 3. เพื่อส่งเสริมสุขภาพช่องปากและฟันโดยให้นักเรียนมีการแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวัน 4. เพื่อให้นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากโดยครูประจำชั้น บุคลากรด้านทันตสาธารณสุข หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และในรายที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากและฟันได้รับการรักษาด้าน ทันตกรรมตามความเหมาะสม ผู้ปกครองทำแบบทดสอบก่อนการอบรม จำนวน 44 คน โดยภาพรวม เมื่อพิจารณาจากคะแนน ผลปรากฏว่า ผู้ปกครองทำแบบทดสอบความรู้ก่อนการอบรม โดยเรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย 3 อันดับแรก คือ คะแนน 9 คะแนน จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 36.36 รองลงมา คือ 8 คะแนน จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อย 18.18  7 คะแนน จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 11.36  ตามลำดับ  และอันดับสุดท้าย 3 คะแนน จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.28 และผู้ปกครองทำแบบทดสอบหลังการอบรม จำนวน 44 คน โดยภาพรวม เมื่อพิจารณาจากคะแนน ผลปรากฏว่า ผู้ปกครองทำแบบทดสอบความรู้หลังการอบรม โดยเรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย 3 อันดับแรก คือ คะแนน 9 คะแนน จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 45.45 รองลงมา คือ 8 คะแนน จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อย 25.00  10 คะแนน จำนวน 10 คน  คิดเป็นร้อยละ 22.73  ตามลำดับ  และอันดับสุดท้าย 7 คะแนน จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 6.82

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกต้อง สามารถลดโรคฟันผุได้ในระดับหนึ่ง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันของบุตรหลาน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมสุขภาพช่องปากและฟันโดยให้นักเรียนมีการแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวัน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อให้นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากโดยครูประจำชั้น บุคลากรด้านทันตสาธารณสุข หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และในรายที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากและฟันได้รับการรักษาด้านทันตกรรมตามความเหมาะสม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 44 44
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 44 44
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกต้อง  สามารถลดโรคฟันผุได้ในระดับหนึ่ง (2) เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันของบุตรหลาน (3) เพื่อส่งเสริมสุขภาพช่องปากและฟันโดยให้นักเรียนมีการแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวัน (4) เพื่อให้นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากโดยครูประจำชั้น บุคลากรด้านทันตสาธารณสุข หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข  และในรายที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากและฟันได้รับการรักษาด้านทันตกรรมตามความเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh