กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า


“ โครงการมหกรรมส่งเสริมสุขภาพ ”

ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายมนะ โสสนุย ตำแหน่งผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลตำบลทุ่งหว้า

ชื่อโครงการ โครงการมหกรรมส่งเสริมสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L8009-01-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 สิงหาคม 2562 ถึง 11 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมหกรรมส่งเสริมสุขภาพ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมหกรรมส่งเสริมสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการมหกรรมส่งเสริมสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L8009-01-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 สิงหาคม 2562 - 11 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 136,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วย กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลตำบลทุ่งหว้า มีความประสงค์จะจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มหกรรมส่งเสริมสุขภาพ โดยจัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพด้วยหลักการ 3 อ (อารมณ์ อาหาร และออกกำลังกาย) การส่งเสริมตลาดนัดสุขภาพคุ้มครองผู้บริโภคปลอดภัยห่างไกลกล่องโฟม การลดปัจจัยการเกิดโรคจากสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมช่วยรักษาความสะอาด รักษ์สิ่งแวดล้อมการคัดแยกขยะโดยใช้หลัก 3Rs (คือการใช้น้อย ใช้ซ้ำและนำกลับมาใช้ใหม่) การเปิดพื้นที่สร้างสรรค์พัฒนาเยาวชนรุ่นใหม่ใส่ใจสุขภาพ สร้างผู้นำ/แกนนำเยาวชนในการการดูแลส่งเสริมสุขภาพต่อต้านป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด โรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อและการตั้งครรภ์ก่อนวัยเรียนในสถานศึกษาและชุมชน ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.1 เพื่อให้ประชาชน เยาวชนได้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลส่งเสริมสุขภาพ การต่อต้านป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด โรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อ และการตั้งครรภ์ก่อนวัยเรียนในสถานศึกษาและชุมชน
  2. 1.2 เพื่อสร้างความตระหนักในการจัดการขยะอย่างถูกต้อง ช่วยส่งเสริมการคัดแยกขยะโดยใช้หลัก 3Rs (คือการใช้ น้อย ใช้ซ้ำและนำกลับมาใช้ใหม่) และใช้ประโยชน์จากขยะในชุมชน
  3. 1.3 เพื่อสร้างจิตสำนึก และแรงจูงใจในการมีส่วนร่วมดำเนินงานส่งเสริม ป้องกันโรคในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการมหกรรมส่งเสริมสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
กลุ่มวัยทำงาน 550
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.1 ประชาชน เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลส่งเสริมสุขภาพ การต่อต้านป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด โรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อ และการตั้งครรภ์ก่อนวัยเรียนในสถานศึกษาและชุมชนเพิ่มขึ้น 1.2 ประชาชน เยาวชนเกิดความตระหนักในการจัดการขยะอย่างถูกต้อง ช่วยส่งเสริมการคัดแยกขยะโดยใช้หลัก 3Rs (คือการใช้น้อย ใช้ซ้ำและนำกลับมาใช้ใหม่) และใช้ประโยชน์จากขยะในชุมชนได้ 1.3 ประชาชน เยาวชนเกิดจิตสำนึก และแรงจูงใจในการมีส่วนร่วมดำเนินงานส่งเสริม ป้องกันโรคในชุมชนเพิ่มขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการมหกรรมส่งเสริมสุขภาพ

วันที่ 9 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

2.1 ประชุมจัดทำแผนการดำเนินงานโครงการฯ 2.2 เสนอโครงการ 2.3 ประชุมชี้แจง ผู้แทน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง วางแผนการดำเนินงานแต่ละกิจกรรม 2.4 ดำเนินโครงการ ตามแผนงานการจัดกิจกรรมต่างๆ 2.4.1 จัดกิจกรรม ให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องต่างๆ เช่น เรื่องการกินอาหารดี ชีวีมีสุข ปลอดภัยห่างไกลโรค , เรื่องการออกกำลังกาย สบายชีวา ปลอดภัยห่างไกลโรค , เรื่องสุขภาพจิตดี ชีวีหมดทุกข์ , เรื่องตลาดนัดสุขภาพ ผู้บริโภคปลอดภัยห่างไกลกล่องโฟม ,เรื่องการคัดแยกขยะ การจัดการขยะอย่างถูกต้อง ,เรื่องการแพร่ระบาดของยาเสพติด โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการตั้งครรภ์ก่อนวัยเรียน ,เรื่องการรักษาสิ่งแวดล้อม 2.4.2 จัดการจัดนิทรรศการ บอร์ดรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ แจกแผ่นพับ เอกสาร เรื่องต่างๆ เช่น เรื่องการกินอาหารดี ชีวีมีสุข ปลอดภัยห่างไกลโรค ,เรื่องการออกกำลังกาย สบายชีวา ปลอดภัยห่างไกลโรค ,เรื่องสุขภาพจิตดี ชีวีหมดทุกข์ ,เรื่องตลาดนัดสุขภาพ ผู้บริโภคปลอดภัยห่างไกลกล่องโฟม ,เรื่องการคัดแยกขยะ การจัดการขยะอย่างถูกต้อง ,เรื่องการแพร่ระบาดของยาเสพติด โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการตั้งครรภ์ก่อนวัยเรียน ,เรื่องการรักษาสิ่งแวดล้อม 2.4.3 จัดกิจกรรมแสดงอุปกรณ์สาธิต สาธิตขั้นตอน วิธีการเรื่องต่างๆ เช่น เรื่องการกินอาหารดี ชีวีมีสุข ปลอดภัยห่างไกลโรค ,เรื่องการออกกำลังกาย สบายชีวา ปลอดภัยห่างไกลโรค ,เรื่องสุขภาพจิตดี ชีวีหมดทุกข์ ,เรื่องตลาดนัดสุขภาพ ผู้บริโภคปลอดภัยห่างไกลกล่องโฟม ,เรื่องการคัดแยกขยะ การจัดการขยะอย่างถูกต้อง ,เรื่องการแพร่ระบาดของยาเสพติด โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการตั้งครรภ์ก่อนวัยเรียน ,เรื่องการรักษาสิ่งแวดล้อม


2.4.4 จัดกิจกรรมตอบคำถาม ทายปัญหา เล่นเกมส์ ประกวดวาดภาพศิลปะ ประกวดการใช้ประโยชน์จากขยะในชุมชนมอบรางวัลผู้ร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจเรื่องต่างๆ เช่น เรื่องการกินอาหารดีชีวีมีสุขปลอดภัยห่างไกลโรค ,เรื่องการออกกำลังกายสบายชีวาปลอดภัยห่างไกลโรค ,เรื่องสุขภาพจิตดี ชีวีหมดทุกข์ ,เรื่องตลาดนัดสุขภาพ ผู้บริโภคปลอดภัยห่างไกลกล่องโฟม ,เรื่องการคัดแยกขยะการจัดการขยะอย่างถูกต้อง ,เรื่องการแพร่ระบาดของยาเสพติด โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ก่อนวัยเรียน ,เรื่องการรักษาสิ่งแวดล้อม 2.4.5 จัดกิจกรรมตรวจคัดกรองชั่งน้ำหนักวัดความดันเพื่อประเมินสุขภาพ 2.5 ติดตามผลการดำเนินงาน 2.6 สรุปผลการดำเนินโครงการและรายงานให้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.1 ประชาชน เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลส่งเสริมสุขภาพ การต่อต้านป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด โรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อ และการตั้งครรภ์ก่อนวัยเรียนในสถานศึกษาและชุมชนเพิ่มขึ้น 1.2 ประชาชน เยาวชนเกิดความตระหนักในการจัดการขยะอย่างถูกต้อง ช่วยส่งเสริมการคัดแยกขยะโดยใช้หลัก 3Rs (คือการใช้น้อย ใช้ซ้ำและนำกลับมาใช้ใหม่) และใช้ประโยชน์จากขยะในชุมชนได้ 1.3 ประชาชนเยาวชนเกิดจิตสำนึกและแรงจูงใจในการมีส่วนร่วมดำเนินงานส่งเสริมป้องกันโรคในชุมชนเพิ่มขึ้น

 

400 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.1 เพื่อให้ประชาชน เยาวชนได้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลส่งเสริมสุขภาพ การต่อต้านป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด โรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อ และการตั้งครรภ์ก่อนวัยเรียนในสถานศึกษาและชุมชน
ตัวชี้วัด : ประชาชนและเยาวชนได้ความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพ การต่อต้านป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด โรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อและการตั้งครรภ์ก่อนวัยเรียน
0.00

 

2 1.2 เพื่อสร้างความตระหนักในการจัดการขยะอย่างถูกต้อง ช่วยส่งเสริมการคัดแยกขยะโดยใช้หลัก 3Rs (คือการใช้ น้อย ใช้ซ้ำและนำกลับมาใช้ใหม่) และใช้ประโยชน์จากขยะในชุมชน
ตัวชี้วัด : ประชาชนได้ตระหนักในเรื่องของการจัดการขยะช่วยส่งเสริมการคัดแยกขยะ
0.00

 

3 1.3 เพื่อสร้างจิตสำนึก และแรงจูงใจในการมีส่วนร่วมดำเนินงานส่งเสริม ป้องกันโรคในชุมชน
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีจิตสำนึก และแรงจูงใจในการมีส่วนร่วมดำเนินงานส่งเสริม ป้องกันโรคในชุมชน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 620
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
กลุ่มวัยทำงาน 550
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.1 เพื่อให้ประชาชน เยาวชนได้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลส่งเสริมสุขภาพ การต่อต้านป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด โรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อ และการตั้งครรภ์ก่อนวัยเรียนในสถานศึกษาและชุมชน (2) 1.2 เพื่อสร้างความตระหนักในการจัดการขยะอย่างถูกต้อง ช่วยส่งเสริมการคัดแยกขยะโดยใช้หลัก 3Rs (คือการใช้ น้อย ใช้ซ้ำและนำกลับมาใช้ใหม่) และใช้ประโยชน์จากขยะในชุมชน (3) 1.3 เพื่อสร้างจิตสำนึก และแรงจูงใจในการมีส่วนร่วมดำเนินงานส่งเสริม ป้องกันโรคในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการมหกรรมส่งเสริมสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการมหกรรมส่งเสริมสุขภาพ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L8009-01-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมนะ โสสนุย ตำแหน่งผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลตำบลทุ่งหว้า )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด