กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง


“ โครงการฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ”

ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน

ที่อยู่ ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 150,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ระบบการจัดการด้านสุขภาพ หมายถึง การที่ชุมชนมีกระบวนการร่วมกันคิด วิเคราะห์ถึงสภาพความเป็นอยู่และร่วมกันสร้างกิจกรรมการดำเนินงานด้านสุขภาพ  ของหมู่บ้านที่จะมีระบบการจัดการสุขภาพที่สมบูรณ์และดำเนินไปสู่ความสำเร็จได้ นั้นมีหลายๆ ปัจจัยที่เข้ามาเกี่ยวข้อง  การจะทำให้ประชาชนมีจิตสำนึกและแสดงบทบาทในการดูแลตนเองและพัฒนาสุขภาพของคน ในครอบครัวและชุมชนได้นั้น สามารถทำได้ด้วยการสร้างกระบวนการที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม และ เสริมสร้างความเข้มแข็งของสังคม ภายใต้การตัดสินใจและความต้องการของประชาชนและชุมชนตามศักยภาพของท้องถิ่น โดยประชาชนและชุมชนมีอำนาจเต็มที่ คนในชุมชนรวมตัวกัน ร่วมกันคิด ร่วมกันทำ ร่วมใจกันบริหารจัดการคน ทุนและความรู้ของชุมชน เพื่อให้เกิดโครงการของประชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาชนในชุมชน ที่เน้นการพัฒนาคนในชุมชนให้เข้าใจปัญหาของตนและชุมชน คิดเป็น มีทักษะวางแผนในการแก้ปัญหาเองได้ มีอิสระในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ วิเคราะห์ปัญหาชุมชนร่วมกัน โดยมีอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) เชื่อมประสานและกระตุ้น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) และภาคีเครือข่ายสนับสนุนทรัพยากร เพื่อสื่อสารให้ประชาชนผู้สนใจหันมามีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมของชุมชน ด้วยการเป็นแกนนำประจำครอบครัว ผู้รับผิดชอบดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชนตลอดจนสภาวะแวดล้อมให้เอื้ออำนวยต่อการมีสุขภาพดี ทั้งนี้ไม่เพียงแต่ใช้เทคนิคและกระบวนการสร้างความครอบคลุมประชากรจำนวนมาก ด้วยยุทธศาสตร์ใช้ระบบผู้นำการ เปลี่ยนแปลง (อสม. หรือเครือข่ายสร้างสุขภาพ ) โดยที่ทุกส่วนก็ต้องร่วมมือร่วมใจที่จะสร้างชุมชมให้แข็งแรง  ภายใต้ระบบการจัดการที่ดี เหมาะสมกับท้องถิ่นของตนเอง
  อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เป็นตัวแทนของคนในคุ้มของหมู่บ้าน โดย 1 คนรับผิดชอบ 1 – 15 ครัวเรือน ซึ่งจะต้องมีความรู้ความเข้าใจ รวมถึงมีทักษะในการดูแลสุขภาพของตนเองและคนในชุมชนได้ ดังนั้น อาสาสมัครสาธารณสุขจึงจำเป็นต้องมีการพัฒนาทักษะ การจัดการระบบสุขภาพในหมู่บ้าน ซึ่งเป็นกลวิธีหนึ่งที่จะทำให้ชุมชนได้เรียนรู้สุขภาพของคนในชุมชน เริ่มต้นจากการสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลง โดยการปรับทัศนคติและบทบาท สร้างจิตสำนึก ศรัทธา ความรัก ความสามัคคี เสริมสร้างและพัฒนาผู้นำให้มีศักยภาพ ในการส่งเสริม สนับสนุนให้ประชาชนสามารถจัดการสุขภาพด้วยตนเอง อย่างเป็นที่ยอมรับของสังคม ด้วยการสร้างความเป็นผู้นำที่มีผลงานสูง สร้างมาตรฐานแนวปฏิบัติ และ ให้ความสำคัญต่อกระบวนการเสริมสร้างให้เกิดความเข้มแข็งของโครงสร้างชุมชนที่เอื้อต่อการจัดการระบบ สุขภาพภาคประชาชน  ผ่านตามกระบวนการการเรียนรู้ต่างๆอย่างเป็นระบบ ตามโครงสร้างของชุมชน ทำให้เกิดเวทีประชาคมสุขภาพของชุมชน และศูนย์การเรียนรู้ สังเคราะห์บทเรียนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องสุขภาพชุมชน จากประสบการณ์จริง  สร้างกิจกรรมให้เกิดความเคยชิน ส่งผลต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพไปในทางที่ถูกต้อง เกิดการดูแลสุขภาพโดยชุม ชน เพื่อชุมชนของตนเอง  กลุ่มผู้นำการเปลี่ยนแปลง มีเข้าใจในความสำคัญ ในบทบาทหน้าที่และความรับผิด ชอบของตน มีบทบาทในการเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ  วิเคราะห์ข้อมูลสุขภาพของคนในครัวเรือน รวมทั้งเป็นต้นแบบการดูแลสุขภาพของครอบครัว ประสานระหว่างบุคคลในครอบครัวกับชุมชน ในการร่วมกิจกรรมของชุมชน และปฏิบัติต่อสภาวะแวดล้อมอย่างเหมาะสม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ อสม. มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการดำเนินงานด้านสาธารณสุขได้อย่างมีประสิทธิภาพ และยั่งยืน
  2. 2 เพื่อให้ อสม.ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานด้านการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดในชุมชน
  3. 3.เพื่อให้ อสม. สร้างกระแสการดูแลสุขภาพ รู้ตน ลดเสี่ยง ลดโรค เปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมจัดอบรมฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมจัดอบรมฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน

วันที่ 22 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1 ประชุมเพื่อเตรียมดำเนินงาน 2 ประสานผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดำเนินงานตามโครงการ ดำเนินงานตามโครงการ
          3 จัดอบรมฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน   4 ฝึกปฏิบัติงาน ณ.สถานบริการ
5 ประเมินผลโครงการ 6 สรุปผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีความรู้ ความเข้าใจและสามารถดำเนินงานเฝ้าระวังทางสุขภาพในชุมชนได้ สามารถค้นหาปัญหาสภาวะสุขภาพในชุมชน และสามารถจัดทำแผนสุขภาพในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดกระบวนการแก้ไขปัญหาสุขภาพ

 

121 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ อสม. มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการดำเนินงานด้านสาธารณสุขได้อย่างมีประสิทธิภาพ และยั่งยืน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2 เพื่อให้ อสม.ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานด้านการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดในชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3.เพื่อให้ อสม. สร้างกระแสการดูแลสุขภาพ รู้ตน ลดเสี่ยง ลดโรค เปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ อสม. มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการดำเนินงานด้านสาธารณสุขได้อย่างมีประสิทธิภาพ และยั่งยืน (2) 2 เพื่อให้ อสม.ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานด้านการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดในชุมชน (3) 3.เพื่อให้ อสม. สร้างกระแสการดูแลสุขภาพ รู้ตน ลดเสี่ยง ลดโรค เปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดอบรมฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด