กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะใหญ่


“ โครงการอบรมให้ความรู้ การป้องกันโรคมือ เท้า ปาก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.เกาะใหญ่ ปีงบประมาณ 2562 ”

ตำบลเกาะใหญ่ อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายมงคล เครือแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้ การป้องกันโรคมือ เท้า ปาก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.เกาะใหญ่ ปีงบประมาณ 2562

ที่อยู่ ตำบลเกาะใหญ่ อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5163-02-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 พฤษภาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมให้ความรู้ การป้องกันโรคมือ เท้า ปาก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.เกาะใหญ่ ปีงบประมาณ 2562 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะใหญ่ อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้ การป้องกันโรคมือ เท้า ปาก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.เกาะใหญ่ ปีงบประมาณ 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้ การป้องกันโรคมือ เท้า ปาก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.เกาะใหญ่ ปีงบประมาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะใหญ่ อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L5163-02-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 พฤษภาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,682.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจะพบโรคมือ เท้า ปาก ในเด็กเกิดขึ้นบ่อยมาก ซึ่งโรคดังกล่าวมีสิทธิที่จะมีการติดต่อไปยังเด็กคนอื่นได้ จากการสัมผัสภาชนะต่างๆที่ใช้ร่วมกัน เช่น แก้วน้ำ จานกินข้าว ราวบันได และการหยิบขนมข้าวปาก ซึ่งเป็นพาหนะน้ำโรคเข้าสู่่ร่างกาย และนำโรคสู่ผู้อื่นจากการสัมผัสโดยตรงหรือผ่านตัวกลางที่พบบ่อยและผู้คน ซึ่งผู้ป่วยที่พบมากในเด็กที่มีอายุต่ำกว่า ๕ ปี มักจะระบาดในช่วงหน้าฝนโรคนี้เกิดจากเชื้อไวรัสกลุ่มอนเตอโรไวรัน เรื่องจากโรคมือ เท้า ปาก(Hand, Foot and Mouth :FHMD) เป็นโรคติดต่อที่เกิดเฉียบพลันและสมารถหายเองได้ อาการทั่วไปของโรคนี้ จะมีอาการเป็นไข้ เจ็บคอ มีตุ่มพองใส กระาจายจอยู่บริเวณคอห่อยและตุ่มพองใสจะขยายกลายเป็นแผลคล้ายร้อนใน โดยส่วนมากพบที่บริเวณด้านหน้าของต่อมทอลซิล เพดานปาก ลิ้นไก่ และมักเป็นอยู่นาน ๔ - ๖ วัน
  ด้วยเหตุนี้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.เกาะใหญ่ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของสถานการณ์โรคือ เท้า ปาก ในปัจจุบขันจึงได้จัดทำโครงการาอบรมให้ความรู้ การป้องกันโรคมือ เท้า ปาก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.ดเกาะใหญ่ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ขึ้น เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคอย่างต่อเนื้อง และเพื่อเป็นการส่งเสริมให้กผู้ปกครองได้ตระหนักเฝ้าระวังป้องกันโรคแก่บุตรหลานในพ้จากอันตรายจการแพร่ระบาดของโรคมือ เท้า ปาก ได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ครู/ครูผู้ดูแลเด็ก/ผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก 2. ครู/ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง สามารถรู้เท่าทันการป้องกันโรคมือ เท้า ปาก ซึ่งเป็นโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาคือการล้างมือที่ถูกวิธี ๗ ขั้นตอน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.ให้ความรู้การป้องกันโรคมือ เท้า ปากให้กับครู/ครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครอง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจะปราศจากโรคมือ เท้า ปากทั้ง ๒ ศูนย์


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ครู/ครูผู้ดูแลเด็ก/ผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก 2. ครู/ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง สามารถรู้เท่าทันการป้องกันโรคมือ เท้า ปาก ซึ่งเป็นโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาคือการล้างมือที่ถูกวิธี ๗ ขั้นตอน
ตัวชี้วัด : ครู/ครูผู้ดูแลเด็ก/ผู้ปกครอง อย่างน้อยร้อยละ ๘๐ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวโรคมือ เท้า ปาก
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ครู/ครูผู้ดูแลเด็ก/ผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก 2. ครู/ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง สามารถรู้เท่าทันการป้องกันโรคมือ เท้า ปาก ซึ่งเป็นโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาคือการล้างมือที่ถูกวิธี ๗ ขั้นตอน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ให้ความรู้การป้องกันโรคมือ เท้า ปากให้กับครู/ครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครอง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมให้ความรู้ การป้องกันโรคมือ เท้า ปาก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.เกาะใหญ่ ปีงบประมาณ 2562 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5163-02-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมงคล เครือแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด