กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
รหัสโครงการ 1005
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.ลำชิง
วันที่อนุมัติ 23 มีนาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2560 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 17,950.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวนัทชญา ตั่นหุ้ย
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคลองทราย อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.741,100.603place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคเริ้อรังหมายถึงโรคที่รักษาไม่หาย การรักษาเป็นเพียงการพยุงไม่ให้มีการสูญเสียการทำงานของร่างกายมากขึ้น โรคเริ้อรังมีหลายประเภท เช่นโรคเบาหวานโรคอ้วน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจวาย โรคไตวาย โรคข้อเสื่อม เป็นต้น โรคเรื้อรังเหล่านี้ จะมีผลต่อหลอดเลือด ในหลายรูปแบบ แต่ส่วนใหญ่จะทำให้เกิดหลอดเลือดตีบตัน จึงทำให้เกิดโรคความดันโลหิตสูงโรคเส้นเลือดสมองตีบหรือเส้นเลือดสมองแตกทำให้เป็นอัมพาต ทำให้เส้นเลือดหัวใจตีบเกิดกล้ามเนื้อหัวใจทำงานไม่ได้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. จัดประชุมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมายหรือบุคคลในครอบครัว ให้ความรูเ และตระหนัก ในเรื่องพฤติกรรรมการควบคุมโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอันตราย
  2. จัดหาเครื่องวัดความดันโลหิตให้ผู้ป่วยวัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้าน โดยการหมุนเวียนเครื่องมือ (จากการวิจัยพบว่าผู้ป่วยจะวัดความดันโลหิตได้สูงเมื่อถูกวัดโดยบุคคลากรทางการแพทย์ และจากการให้เครื่องมือไปวัดเองที่บ้านพบว่าความดันโลหิตจะไม่สูงมากเมื่อเทียบกับวัดโดยบุคคลากรการแพทย์
  3. ประชุมครั้งที่ 2 เพื่อติดตามประเมินผลในเรื่องพฤติกรรมการควบคุมโรค และผลระดับความดันโลหิตที่วัดด้วยตนเอง
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้ป่วย สามารถควบคุมระดับความดันโลหิต และน้ำตาล ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้ ร้อยละ 60
  2. ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนที่อันตราย เช่น ไตวาย อัมพฤกษ์ อัมพาต จากเส้นเลือดในสมองตีบแตก
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 เม.ย. 2560 10:07 น.