กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมทันตสุขภาพในกลุ่มเด็กวัยเรียน ปีงบประมาณ 2562 ”
ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นางเพียงดาว รอดความทุกข์




ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมทันตสุขภาพในกลุ่มเด็กวัยเรียน ปีงบประมาณ 2562

ที่อยู่ ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมทันตสุขภาพในกลุ่มเด็กวัยเรียน ปีงบประมาณ 2562 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาไพร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมทันตสุขภาพในกลุ่มเด็กวัยเรียน ปีงบประมาณ 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมทันตสุขภาพในกลุ่มเด็กวัยเรียน ปีงบประมาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาไพร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคฟันผุเป็นปัญหาทันตสาธารณสุขที่พบมากที่สุดในเด็กนักเรียนประถมศึกษา ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการพฤติกรรมการรับประทานอาหารโดยมักจะรับประทานขนมขบเคี้ยว น้ำอัดลม ลูกกวาด และอาหารหวานเป็นประจำ ขาดการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันและก่อนนอน เด็กนักเรียนยังขาดการกำชับดูแล ส่งเสริม และการปลูกฝังพฤติกรรมให้มีการแปรงฟันหลังอาหารทั้งจากครูในโรงเรียนและผู้ปกครองของเด็กที่บ้าน อีกทั้งยังขาดความรู้ในการดูแลรักษาสุขภาพช่องปากและประโยชน์ของการแปรงฟัน ทำให้เกิดปัญหาฟันผุตามมา นอกจากปัญหาโรคฟันผุแล้ว ยังพบว่าเด็กนักเรียนมีปัญหาโรคเหงือกอักเสบ โดยเหงือกมีลักษณะบวมแดง มีคราบจุลินทรีย์ และหินน้ำลายเกาะอยู่ตามตัวฟัน บางรายพบฟันโยกด้วย
จากการสำรวจทันตสุขภาพช่องปากของนักเรียนในโรงเรียนของพื้นที่รับบริการปี ๒๕๖1 ในตำบลเขาไพรมีเด็กนักเรียนจำนวน 255 คน มีปัญหาโรคฟันถาวรผุ จำนวน 52 คน คิดเป็นร้อยละ 20.39 มีหินน้ำลายและเหงือกอักเสบ จำนวน 68 คน คิดเป็นร้อยละ 26.66 มีปัญหาทันตกรรมต้องรับบริการเร่งด่วน จำนวน 167 คน คิดเป็นร้อยละ 64.23 ส่วนสาเหตุใหญ่ของการเกิดปัญหาทันตสุขภาพช่องปากเด็กนักเรียน จากการเก็บรวบรวมข้อมูลพบว่า โรงเรียนยังขาดการส่งเสริมการแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน ครูและผู้ดูแลเด็กนักเรียน ไม่มีการกำชับดูแลปลูกฝังพฤติกรรมให้นักเรียนเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปาก และการดำเนินงานทันตสุขภาพในโรงเรียนยังขาดความต่อเนื่อง สม่ำเสมอ และเป็นระบบที่ชัดเจน จากบุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ไม่ว่าจะเป็น ครูคณะทำงาน ผู้นำนักเรียน ตัวนักเรียนเอง และรวมไปถึงผู้ปกครองของเด็กนักเรียนเองที่บ้าน ดังนั้นเพื่อให้เด็กนักเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองอย่างถูกต้อง และส่งเสริมให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลปัญหาสุขภาพช่องปากของเด็กนักเรียน
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาไพร จึงจัดทำโครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมทันตสุขภาพในกลุ่มเด็กวัยเรียนในตำบลเขาไพร เพื่อเป็นการลดและแก้ไขปัญหาทันตสุขภาพของเด็กวัยเรียน เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปาก และส่งเสริมการดำเนินงานกิจกรรมทางทันตสุขภาพในโรงเรียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กวัยเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
  2. เพื่อให้นักเรียนที่มีปัญหาทันตสุขภาพได้รับการดูแลพร้อมได้รับการรักษาทางทันตกรรม
  3. เพื่อลดการเกิดฟันผุลุกลามและสามารถเก็บฟันน้ำนมหรือฟันแท้ไว้ได้โดยไม่ต้องถอน
  4. เพื่อให้โรงเรียนประถมศึกษาในตำบลเขาไพรมีกิจกรรมแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์หลังอาหารกลางวันทุกวัน
  5. เพื่อให้เด็กวัยเรียนมีความรู้เกี่ยวกับทันตสุขภาพและสามารถตรวจสุขภาพช่องปากได้ด้วยตัวเอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 260
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็กวัยเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากทุกคน
    2. เด็กวัยเรียนที่มีปัญหาทันตสุขภาพ ได้รับการแก้ไขปัญหาทุกคนและมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น
    3. เด็กวัยเรียนมีอัตราการสูญเสียฟันน้ำนมหรือฟันแท้จากการถอนฟันลดลง
    4. โรงเรียนประถมศึกษาทุกแห่งจัดกิจกรรมแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์หลังอาหารกลางวันทุกวัน
    5. นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับทันตสุขภาพและสามารถตรวจสุขภาพช่องปากได้ด้วยตัวเอง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้เด็กวัยเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    2 เพื่อให้นักเรียนที่มีปัญหาทันตสุขภาพได้รับการดูแลพร้อมได้รับการรักษาทางทันตกรรม
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    3 เพื่อลดการเกิดฟันผุลุกลามและสามารถเก็บฟันน้ำนมหรือฟันแท้ไว้ได้โดยไม่ต้องถอน
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    4 เพื่อให้โรงเรียนประถมศึกษาในตำบลเขาไพรมีกิจกรรมแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์หลังอาหารกลางวันทุกวัน
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    5 เพื่อให้เด็กวัยเรียนมีความรู้เกี่ยวกับทันตสุขภาพและสามารถตรวจสุขภาพช่องปากได้ด้วยตัวเอง
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 260
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 260
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กวัยเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก (2) เพื่อให้นักเรียนที่มีปัญหาทันตสุขภาพได้รับการดูแลพร้อมได้รับการรักษาทางทันตกรรม (3) เพื่อลดการเกิดฟันผุลุกลามและสามารถเก็บฟันน้ำนมหรือฟันแท้ไว้ได้โดยไม่ต้องถอน (4) เพื่อให้โรงเรียนประถมศึกษาในตำบลเขาไพรมีกิจกรรมแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์หลังอาหารกลางวันทุกวัน (5) เพื่อให้เด็กวัยเรียนมีความรู้เกี่ยวกับทันตสุขภาพและสามารถตรวจสุขภาพช่องปากได้ด้วยตัวเอง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมทันตสุขภาพในกลุ่มเด็กวัยเรียน ปีงบประมาณ 2562 จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางเพียงดาว รอดความทุกข์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด