กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปาล์มพัฒนา


“ โครงการดูแลและส่งเสริมสุขภาพด้วยวิถีการแพทย์แผนไทย ”

ตำบลปาล์มพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลมะนัง

ชื่อโครงการ โครงการดูแลและส่งเสริมสุขภาพด้วยวิถีการแพทย์แผนไทย

ที่อยู่ ตำบลปาล์มพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 600101 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการดูแลและส่งเสริมสุขภาพด้วยวิถีการแพทย์แผนไทย จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปาล์มพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปาล์มพัฒนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลและส่งเสริมสุขภาพด้วยวิถีการแพทย์แผนไทย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการดูแลและส่งเสริมสุขภาพด้วยวิถีการแพทย์แผนไทย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปาล์มพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 600101 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปาล์มพัฒนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การแพทย์แผนไทยเป็นภูมิปัญญาดั้งเดิมของคนไทยที่ใช้แก้ปัญหาความเจ็บป่วยมาตั้งแต่สมัยบรรพบุรุษ และปัจจุบันได้มีการพัฒนาเข้าสู่สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ และเป็นทางเลือกในการดูแลสุขภาพ ทั้งในเรื่องของการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การบำบัดรักษาและการฟื้นฟูสภาพ ซึ่งมีทั้งการใช้ยาสมันไพร การนวดไทย การประคบสมุนไพร การทับหม้อเกลือและการอบไอน้ำสมุนไพร การเจ็บป่วยในปัจจุบัน ส่วนใหญ่เป็นโรคหรืออาการที่ไม่รุนแรง เช่น ท้องอืดท้องเฟ้อ จุกเสียด เจ็บคอ ซึ่งอาการเหล่านี้สามารถรักษาได้ด้วยตัวเอง และมีการนำสมุนไพรมาประยุกต์ใช้หรือแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น โลชั่นกันยุงสมุนไพร ยาดมสมุนไพร ยากันยุงสมุนไพร ลูกประคบสมุนไพร ฯลฯ เพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์และสมุนไพร การใช้สมุนไพรที่สามารถหาได้ง่ายในท้องถิ่นหรือในครัวเรือนเป็นอีกหนึ่งทางเลือกมี่สามารถนำมาใช้รักษาสุขภาพหรือบรรเทาอาการต่างๆในเบื้องต้นได้ ดังคำกล่าว เจ็บป่วยคราใด ใช้ยาไทย ก่อนไปพบแพทย์ ดังนั้นการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย เป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการดุแล รักษา ส่งเสริม ป้องกันและฟื้นฟูสภาพ ซึ่งสามารถนำสมุนไพรใกล้ตัวมาใช้รักษาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นได้ การนำสมุนไพรมาใช้จึงมีความจำเป็นที่จะต้องทราบวิธีการที่ถูกต้องในการใช้สมุนไพร ขนาดที่ใช้ ข้อระวังต่างๆ เพื่อให้สมุนไพรนั้นมีประสิทธิภาพในการบรรเทาอาการและใช้ได้อย่างปลอดภัย กลุ่มงานแพทย์แผนไทย ฝ่ายเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน โรงพยาบาลมะนัง ได้เล็งเห็นความสำคัญของการใช้สมุนไพร จึงได้จัดทำโครงการดูแลและส่งเสริมสุขภาพด้วยวิถีการแพทย์แผนไทย เพื่อเป็นการให้ความรู้แก่ประชาชนและสามารถนำสมุนไพรใกล้ตัวมาใช้ได้ถูกต้องและเกิดประโยชน์สูงสุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชาชนมีทัศนคติที่ดีต่องานแพทย์แผนไทยและหันมาใช้วิธีการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย
  2. 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ และทักษะในการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร
  3. 3. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรในท้องถิ่น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ดูแลและส่งเสริมสุขภาพด้วยวิถีการแพทย์แผนไทย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีความรู้ด้านสมุนไพร สรรพคุณ ส่วนที่ใช้ได้ถูกต้อง 2.ประชาชนสามาถนำสมุนไพรที่มีในชุมชนมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์สุขภาพได้ 3.ประชาชนมีทัศนคติที่ดีต่องานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 4.มีภาคีเครือข่ายในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการจัดกิจกรรมโครงการดูแลและส่งเสริมสุขภาพด้วยวิถีการแพทย์แผนไทย เขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลมะนังและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปาล์มพัฒนา ประจำปีงบประมาณ 2560 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด จำนวน 120 คน ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องสมุนไพรใกล้ตัว ที่สามารถนำสมุนไพรที่มีในครัวเรือนมาใช้รักษาอาการเจ็บป่วยในเบื้องต้นได้ เช่น สมุนไพรรักษาแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก ได้แก่ ว่านหางจรเข้ น้ำมันมะพร้าว สมุนไพรบรรเทาอาการไอ เช่น มะนาว มะขามป้อม ชะเอม สมุนไพรไล่ยุง เช่น หนอนตามยาก กะเพรา โหระพา สมุนไพรใช้ล้างพิษ ถอนพิษยาฆ่าแมลง เช่น รางจืด สมุนไพรแก้เคล็ดขัดยอก ฟกช้ำ เช่น ไพล เถาวัลย์เปรียง เถาโคคลาน สมุนไพรรักษาอาการท้องอืดท้องเฟ้อ ขับลม เช่น ขมิ้นชัน กะเพรา ขิง สมุนไพรรักษาอาการท้องผูก ได้แก่ ชุมเห็ดเทศ มะขาม มะขามแขกแมงลัก ขี้เหล็ก คูน สมุนไพรบรรเทาอาการลมพิษ ได้แก่ พลู สมุนไพรบรรเทาอาการปวดฟัน ได้แก่ ข่อย กานพลู เป็นต้น นอกจากนี้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมและมีความพึงพอใจต่อโครงการคิดเป็นร้อยละ ๙๗ และมีความสนใจในการนำสมุนไพรในท้องถิ่น ครัวเรือนมาแปรรูป เช่น นำตะไคร้หอมมาทำโลชั่นกันยุง นำใบกะเพราหรือสมุนไพรที่มีรสฉุนมาไล่ยุงเบื้องต้นได้ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ในการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรพร้อมทั้งฝึกปฏิบัติการทำลูกประคบสมุนไพร ยาดมสมุนไพรและโลชั่นกันยุง เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้และมีทักษะในการนำสมุนไพรที่มีในชุมชนมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์สมุนไพรได้และผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีทัศนคติที่ดีต่อภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและใส่ใจการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ประชาชนมีทัศนคติที่ดีต่องานแพทย์แผนไทยและหันมาใช้วิธีการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนมีทัศนคติที่ดีต่องานแพทย์แผนไทยและหันมาใช้วิธีการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย
0.00

 

2 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ และทักษะในการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร
ตัวชี้วัด : 2.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ และทักษะในการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร
0.00

 

3 3. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรในท้องถิ่น
ตัวชี้วัด : 3.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรในท้องถิ่น
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนมีทัศนคติที่ดีต่องานแพทย์แผนไทยและหันมาใช้วิธีการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย (2) 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ และทักษะในการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร (3) 3. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรในท้องถิ่น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ดูแลและส่งเสริมสุขภาพด้วยวิถีการแพทย์แผนไทย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการดูแลและส่งเสริมสุขภาพด้วยวิถีการแพทย์แผนไทย จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 600101

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลมะนัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด