กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านสวน


“ โครงการเก็บถังขยะคืนไปเอามะพร้าวน้ำหอมมาหมู่ที่๗บ้านท่ามะนาว ”

อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายวิชัย อินทร์ประดับ

ชื่อโครงการ โครงการเก็บถังขยะคืนไปเอามะพร้าวน้ำหอมมาหมู่ที่๗บ้านท่ามะนาว

ที่อยู่ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 17 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 สิงหาคม 2560 ถึง 31 มีนาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเก็บถังขยะคืนไปเอามะพร้าวน้ำหอมมาหมู่ที่๗บ้านท่ามะนาว จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านสวน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเก็บถังขยะคืนไปเอามะพร้าวน้ำหอมมาหมู่ที่๗บ้านท่ามะนาว



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเก็บถังขยะคืนไปเอามะพร้าวน้ำหอมมาหมู่ที่๗บ้านท่ามะนาว " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 สิงหาคม 2560 - 31 มีนาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 59,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านสวน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการนี้ เป็นโครงการใหม่ที่ไม่เคยได้รับการสนับสนุนงบประมาณเพื่อดำเนินกิจกรรมมาก่อนโครงการนี้เป็นโครงการที่มุ่งเน้นเพิ่มประสิทธิภาพระบบการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชนและภาคีเครือข่าย ด้วยการแบบบูรณาการกิจกรรมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตและภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เคยใช้จัดการขยะในครัวเรือนในอดีตผสมผสานกับวิทยาการและองค์ความรู้สมัยใหม่ด้านการจัดการขยะ ตามรูปแบบ ลักษณะ องค์ประกอบและโครงสร้างทางเคมีที่เป็นส่วนประกอบของขยะ กิจกรรมในโครงการนี้ได้มาจากการจัดทำเวทีประชาคมของหมู่บ้าน ทั้งนี้ เพื่อก่อให้เกิดการมีส่วนร่วมด้านการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมของประชาชนในทุกภาคส่วนของชุมชนและทุกครัวเรือน โดยการจัดให้มีกิจกรรมเชิงรุกตั้งแต่การประชาสัมพันธ์เพื่อปลูกจิตสำนึก การฝึกอบรมให้ความรู้ในเรื่องประเภทและชนิดของขยะ การคัดแยกขยะ การทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ เพื่อกระตุ้นและส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนนำผลิตภัณฑ์ปุ๋ยอินทรีย์หรือน้ำหมักชีวภาพที่ผลิตจากขยะในชุมชนและครัวเรือนไปใช้ทางการเกษตรเป็นการคืนความสมดุลให้กับธรรมชาติและป้องกันโรคติดต่อที่อาจเกิดขึ้น โดยการดำเนินงานดังกล่าว มุ่งเน้นสร้างจิตสำนึกของประชาชนและเพิ่มความสามารถของชุมชน ในการดูแลรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น สร้างรายได้ให้ชุมชน รวมทั้ง สร้างเครือข่ายการดำเนินงานให้เกิดความเข้มแข็ง สามารถแก้ไขปัญหาอื่นๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้ง โครงการนี้ยังเป็นโครงการที่ตอบสนองต่อนโยบายของรัฐที่ประกาศให้การจัดการขยะเป็นวาระแห่งชาติอีกด้วย ๑.หลักการและเหตุผล ปัจจุบันในเขตเทศบาลตำบลบ้านสวน มีปริมาณขยะจำนวนมากและส่วนใหญ่มาจากการดำรงชีวิตของคนในชุมชน กลายเป็นภาระหนักของเทศบาล ต้องใช้งบประมาณจำนวนมากในการบริหารจัดการกำจัดขยะเหล่านั้น ทั้งๆที่ขยะส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ ๙๐ เป็นขยะที่สามารถเพิ่มคุณค่าและนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้ นอกจากนั้น ปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้นในทุกวันทำให้มีขยะตกค้างเป็นจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสภาพความเป็นอยู่ในชุมชนมากมาย ได้แก่ บ้านเมืองสกปรกไม่น่ามอง เสียทัศนียภาพ ส่งกลิ่นเหม็นรบกวน เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์และพาหนะนำโรคต่าง เช่นหนู แมลงสาบ แมลงวัน ยุงลาย อีกทั้งยังเป็นแหล่งแพร่เชื้อโรคโดยตรง เช่น อหิวาตกโรค อุจระร่วง บิด โรคผิวหนัง บาดทะยัก โรคทางเดินหายใจและเกิดการปนเปื้อนของสารพิษ เช่นตะกั่ว ปรอท ที่ถูกทิ้งลงสู่พื้นดินและแหล่งน้ำ ทำให้แหล่งน้ำในชุมชนเน่าเสีย ท่อระบายน้ำอุดตันกลายเป็นสาเหตุของปัญหาน้ำท่วม เป็นแหล่งกำเนิดมลพิษทางอากาศ เช่น ฝุ่นละออง เขม่า ควัน จากการเผาขยะ เกิดก๊าซมีเทนจากการฝังกลบขยะ นอกจากนั้น ขยะบางชนิดไม่ย่อยสลายและกำจัดได้ยาก เป็นขยะอันตรายหรือเป็นขยะที่มีพิษ เช่น หลอดไฟ ถ่านไปฉาย แบตเตอรี่ของโทรศัพท์มือถือ โฟม พลาสติก ทำให้ตกค้างกลายเป็นปัญหามลภาวะทางสิ่งแวดล้อมและส่งผลกระทบต่อสุขภาพของคนในชุมชนในที่สุด คณะกรรมการหมู่บ้าน ร่วมกับ อสม.หมู่ที่ ๗ ร่วมกับ รพ.สต.บ้านปากคลอง จึงได้จัดทำเวทีประชาคมเพื่อแก้ไขปัญหาและจัดการขยะในครัวเรือนของชุมชนโดยชุมชนเอง จนเกิด “โครงการเก็บถังขยะคืนไป เอามะพร้าวน้ำหอมมา หมู่ที่ ๗ บ้านท่ามะนาว” ที่มุ่งเน้น การมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชนเป็นสำคัญ อันจะนำไปสู่การเกิดชุมชนต้นแบบด้านการจัดการขยะและรักษาสิ่งแวดล้อมของตำบลในที่สุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 90
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑๒.๑ ผลประโยชน์ต่อประชาชนและชุมชน ๑๒.๑.๑ ประชากรในครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยตามแนวทางการลดปริมาณของเสียให้น้อยลง (Less Waste) จนมีการจัดการขยะเหลือศูนย์ (Zero Waste) ๑๒.๑.๒ ชุมชนและทุกครัวเรือนที่เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้ เกิดกระบวนการเรียนรู้ และสามารถในด้านการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นมีการคัดแยกขยะจากแหล่งที่เกิด มีการทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ ไว้ใช้เองในชุมชนและครัวเรือน และมีรายได้จากการขายขยะรีไซเคิล ๑๒.๑.๓ ครัวเรือนและชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการจัดการขยะ ๑๒.๑.๔ เทศบาลตำบลบ้านสวนลดค่าใช้จ่ายในการบริการจัดการขยะลง สามารถใช้งบประมาณส่วนนี้ไปพัฒนาคุณภาพชีวิตหรือด้านอื่นๆได้เพิ่มขึ้น ๑๒.๑.๕ ปัญหามลภาวะจากสิ่งแวดล้อมและโรคติดต่อที่เกิดจากพาหะนำโรคที่ใช้ขยะเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ในชุมชนลดลง

    ๑๒.๒ ผลประโยชน์ต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๑๒.๒.๑ ลดปริมาณขยะที่ต้องฝังกลบ ลดขยะตกค้าง ทำให้ลดมลภาวะจากขยะชุมชนลงได้ ๑๒.๒.๒ มีการนำผลิตภัณฑ์ที่ได้จากขยะอินทรีย์ ได้แก่ ปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ ซึ่งเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมไปใช้ทางการเกษตร คืนธรรมชาติสู่ธรรมชาติ ลดการใช้ปุ๋ยเคมีได้ ๑๒.๒.๓ เกิดทัศนียภาพที่สวยงามในชุมชน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 90
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเก็บถังขยะคืนไปเอามะพร้าวน้ำหอมมาหมู่ที่๗บ้านท่ามะนาว จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 17

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายวิชัย อินทร์ประดับ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด