กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยสเปรย์ไล่ยุงสมุนไพรหมู่ที่ 1,2,3,7,8,9 ตำบลนิคมพัฒนา
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ นิคมพัฒนา
วันที่อนุมัติ 5 กรกฎาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2562 - 30 กันยายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 44,350.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ ฯ นิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ห้องประชุมสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ นิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานขยะ , แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันถ้าจะพูดถึงสัตว์ที่เป็นพาหะนำโรคสัตว์อันดับต้นๆ ที่เราคิดคงไม่พ้นยุง เนื่องจากยุงเป็นพาหะนำโรคร้ายต่างๆ ที่คร่าชีวิตคนเป็นจำนวมาก ยุงเป็นพาหะนำโรคหลายชนิดที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ เช่น โรคไข้เลือออก ไข้มาลาเรีย โรคเท้าช้าง เป็นต้น โดยเฉพาะโรคไข้เลือดออกที่มีผู้ป่วยเกิดขึ้นเป็นจำนวนมากในแต่ละปี ดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกันกระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์ชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง การดำเนินการเพื่อตัดวงจรการเกิดโรคที่มาจากยุง จึงมีผู้คิดหาตัวยาเพื่อจำกัดและป้องกันยุงขึ้นมาหลายชนิด เช่น ครีมทากันยุง ยาจุดกันยุง ยาฉีดกันยุง น้ำมันไล่ยุง เป็นต้น แต่ยากันยุงเหล่านี้ก่อให้เกิดปัญหาขึ้นมากมาย เพราะมีสารที่เป็นอันตรายผสมอยู่ซึ่งทำให้ผู้ใช้บางคนเกิดอาการแพ้และในพื้นที่หมู่ที ๑,๒,๓,๗,๘,๙ ส่ววนใหญ่จะประกอบอาชีพเกษตรกร เช่น ทำสวนยางพารา สวนปาล์มน้ำมัน ทำให้มีความเสี่ยงต่อการเป็นดรคไข้เลือดออกเนื่องจากถูกยุงกัด นั้น ดังนั้นชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ นิคมพัฒนา จึงจัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยสเปรย์ไล่ยุงสมุนไพรหมู่ที่ ๑,๒,๓,๗,๘,๙ ตำบลนิคมพัฒนา โดยใช้กลไกการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน และเพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขสถานีอนามัยเฉลิมพรระเกียรติฯ นิคมพัฒนาจึงได้จัดทำโครงการขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.) เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชนหมู่ที่ 1,2,3,7,8,9 ตำบลนิคมพัฒนา 2.) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชนหมู่ที่ 1,2,3,7,8,9ตำบลนิคมพัฒนา 3.) เพื่อให้ประชาชนในชุมชนหมู่ที่1,2,3,7,8,9 ตำบลนิคมพัฒนามีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
  1. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชนหมู่ที่ 1,2,3,7,8,9 ตำบลนิคมพัฒนา
  2. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชนหมู่ที่ 1,2,3,7,8,9 ตำบลนิคมพัฒนา
  3. เพื่อให้ประชาชนในชุมชนหมู่ที่1,2,3,7,8,9 ตำบลนิคมพัฒนา มีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 90 44,350.00 1 44,350.00
10 ก.ค. 62 ฝึกอบรมการทำสเปรย์ไล่ยุงสมุนไพร 90 44,350.00 44,350.00
  1. ขั้นวางแผนและเตรียมงาน 1.1 เขียนโครงการและเสนอโครงการเพื่อพิจารณาอนุมัติ
  2. ขั้นตอนการดำเนินงาน 2.1 สำรวจกลุ่มเป้าหมายเพื่อเข้ารับการฝึกอบรม 2.2 ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2.3 จัดกิจกรรมฝึกอบรมการทำสเปรย์ไล่ยุงสมุนไพร ณ ห้องประชุมสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯนิคมพัฒนา 2.4 กิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนหมู่ที่1,2,3,7,8,9 ตำบลนิคมพัฒนา
    • นำสเปรย์ไล่ยุงสมุนไพรที่ได้จัดทำขึ้นไปใช้ในการป้องกันยุงกัด
    • ให้ความรู้ในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนครัวเรือนในพื้นที่หมู่ที่ 1,2,3,7,8,9 ตำบลนิคมพัฒนา
    • ส่งเสริมให้แต่ละครัวเรือนดำเนินการปรับปรุงสภาพแวดล้อมบริเวณบ้านให้เหมาะสมไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงของเชื้อโรค
    • ชุมชนร่วมเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกเพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่หมู่ที่1,2,3,7,8,9 ตำบลนิคมพัฒนา
    1. ขั้นประเมินผล   - สรุปผลและรายงานผลการดำเนินงานให้กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนิคมพัฒนาทราบต่อไป
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชนหมู่ที่1,2,3,7,8,9 ตำบลนิคมพัฒนา
  2. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชนหมู่ที่1,2,3,7,8,9 ตำบลนิคมพัฒนา
  3. เพื่อให้ประชาชนในชุมชนหมู่ที่1,2,3,7,8,9ตำบลนิคมพัฒนา มีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 ก.ค. 2562 12:13 น.