กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา


“ โครงการ อสม.รวมใจ ทำความดีด้วยหัวใจ ลดภัยสิ่งแวดล้อม ร่วมลดขยะมูลฝอยในชุมชน ”

ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายหมัดอุเส็น สามารถ

ชื่อโครงการ โครงการ อสม.รวมใจ ทำความดีด้วยหัวใจ ลดภัยสิ่งแวดล้อม ร่วมลดขยะมูลฝอยในชุมชน

ที่อยู่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L8287- เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 กรกฎาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ อสม.รวมใจ ทำความดีด้วยหัวใจ ลดภัยสิ่งแวดล้อม ร่วมลดขยะมูลฝอยในชุมชน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ อสม.รวมใจ ทำความดีด้วยหัวใจ ลดภัยสิ่งแวดล้อม ร่วมลดขยะมูลฝอยในชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ อสม.รวมใจ ทำความดีด้วยหัวใจ ลดภัยสิ่งแวดล้อม ร่วมลดขยะมูลฝอยในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L8287- ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 กรกฎาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 54,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

นับแต่อดีตถึงปัจจุบัน ปัญหาขยะเป็นปัญหาสำคัญที่อยู่คู่คนไทยมายาวนาน และแนวโน้มเพิ่มขึ้น สาเหตุจากการเพิ่มปริมาณขยะทุกปี การเพิ่มประชากร การขยายตัวทางเศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลงการบริโภคของประชาชน ในขณะเดียวกันการกำจัดขยะที่ถูกต้องมีอัตราต่ำ แม้ว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะรับผิดชอบบริหารจัดเก็บ เคลื่อนย้าย ทำลาย แต่ยังไม่เพียงพอกับปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้น ซึ่งในปี 2561 พบปริมาณขยะในชุมชนมีมากถึง 27.82 ล้านตัน (เพิ่มจากปี 2560 ร้อยละ1.64) ขยะจากพลาสติกประมาณ 2 ล้านตัน ของเสียอันตรายจากชุมชน 638,000 ตัน ร้อยละ65 เป็นซากจากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กโทรนิกส์ ถ่านไฟฉาย ภาชนะบรรจุสารเคมี กระป่องสเปรย์ และร้อยละ 35 เป็นอื่นๆ เช่น แบตเตอรี่ ในจำนวนนี้สามารถกำจัดได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ ประมาณ 9.58 ล้านตัน(ร้อยละ34)  และถูกนำไปกำจัดอย่างถูกต้องประมาณ 10.88 ล้านตัน(ร้อยละ 39) มูลฝอยส่วนที่เหลือมากถึง 7.36 ล้านตัน (ร้อยละ 27) ยังคงถูกทิ้งอย่างไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการ (กรมควบคุมมลพิษ, 2561) การกำจัดขยะอย่างไม่ถูกวิธี เช่น เทกลางแจ้ง เผาที่โล่ง ส่งผลกระทบตามมาทั้งความสูญเสียทางด้านสิ่งแวดล้อม ก่อมลพิษทางน้ำ ดินเสื่อม เหตุรำคาญจากกลิ่นเหม็น รวมถึงเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์พาหะนำโรค และเป็นแหล่งการแพร่ของเชื้อโรคที่ก่อให้เกิดโรคต่างๆ จะเห็นว่าขยะเป็นต้นเหตุของการบั่นทอนอายุของประชาชนให้สั้นลง รวมทั้งความสูญเสียด้านเศรษฐกิจ และสิ้นเปลืองงบประมาณ ของรัฐในการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอย อย่างไรก็ตามเพื่อให้เกิดการพัฒนารูปแบบการจัดการขยะในชุมชนตำบลเทพา ให้มีความยั่งยืน ครบวงจร และเกิดประสิทธิภาพสูงสุด จึงได้นำทฤษฎี3Rs มาประยุกต์ใช้ ได้แก่ Reduce (ลดการใช้) Reuse (การใช้ซ้ำ) Recycle (นำกลับมาใช้ใหม่) มีเป้าหมายสูงสุด คือ เพื่อลดและคัดแยกขยะ ในพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลเทพา งดใช้ถุงพลาสติก กล่องโฟม และแก้วน้ำพลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวทิ้ง (Single Use Plastic) และส่งเสริมให้มีการลด คัดแยก และนำมาใช้ประโยชน์ให้มากขึ้น

ชมรม อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ตำบลเทพา จึงได้จัดทำโครงการ อสม.รวมใจ ทำความดีด้วยหัวใจ ลดภัยสิ่งแวดล้อม ร่วมลดขยะมูลฝอยในชุมชน เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการใช้ประโยชน์จากขยะมูลฝอย รวมทั้งเพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอยที่แหล่งกำเนิด และการเพิ่มประสิทธิภาพการนำขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ตลอดจนเพื่อลดปัญหาสุขภาพของประชาชนที่มีสาเหตุจากขยะมูลฝอย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1. เพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอยที่แหล่งกำเนิด ในชุมชน
  2. ข้อที่ 2. เพื่อให้ประชาชนมีมีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ
  3. ข้อที่ 3. ผู้เข้าร่วมมหกรรมชุมชนสะอาด มีความพึงพอใจ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดกิจกรรมอบรม เรื่องชุมชนปลอดขยะ
  2. กิจกรรมการพัฒนาความสะอาดในหมู่บ้าน Big Cleaning
  3. กิจกรรมประกวดบ้านสะอาด
  4. กิจกรรมมหกรรมชุมชนสะอาด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 240
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะการใช้ประโยชน์จากขยะและการเพิ่มประสิทธิภาพการนำขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์
  2. ลดขยะมูลฝอยจากแหล่งกำเนิด และการเพิ่มประสิทธิภาพการนำขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์
  3. ลดปัญหาสุขภาพที่มีสาเหตุมาจากขยะมูลฝอย
  4. มีการกำหนดมาตรการทางสังคมในชุมชน งดใช้ถุงพลาสติกและโฟม ในงานเลี้ยง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมการพัฒนาความสะอาดในหมู่บ้าน Big Cleaning

วันที่ 1 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ทำความสะอาดหมู่บ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ชุมชนสะอาด

 

500 0

2. จัดกิจกรรมอบรม เรื่องชุมชนปลอดขยะ

วันที่ 3 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ประชาชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนมีความรู้

 

240 0

3. กิจกรรมประกวดบ้านสะอาด

วันที่ 24 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ประกวดบ้านสะอาดทุกหมู่บ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้บ้านสะอาด หมู่บ้านละ  3 หลัง รวม 24 หลัง

 

500 0

4. กิจกรรมมหกรรมชุมชนสะอาด

วันที่ 30 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ไม่ได้ดำเนินการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ไม่ได้ดำเนินการ

 

240 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.ครัวเรือนแยกขยะรีไซเคิลไว้ขาย ทำให้ขยะที่ทิ้งลดลง 2.ประชาชนมีความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ 3.ไม่ได้ดำเนินกิจกรรมมหกรรมชุมชนสะอาด

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1. เพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอยที่แหล่งกำเนิด ในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. ในชุมชนมีขยะมูลฝอยลดลง ร้อยละ 80
80.00 80.00

ครัวเรือนคัดแยกขยะ 80% ทำให้ขยะที่จะทิ้งลดลง แต่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้อีก

2 ข้อที่ 2. เพื่อให้ประชาชนมีมีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ
ตัวชี้วัด : 2. ประชาชนมีความรู้ในการคัดแยกขยะ ร้อยละ 80
80.00 80.00

ประชาชนมีความรู้เรื่อองการคัดแยกขยะและนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน 80%

3 ข้อที่ 3. ผู้เข้าร่วมมหกรรมชุมชนสะอาด มีความพึงพอใจ
ตัวชี้วัด : 3. ผู้เข้าร่วมมหกรรม มีความพึงพอใจร้อยละ 100
100.00 0.00

ไม่ได้ดำเนินการ

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 240 240
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 240 240
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอยที่แหล่งกำเนิด ในชุมชน (2) ข้อที่ 2. เพื่อให้ประชาชนมีมีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ (3) ข้อที่ 3. ผู้เข้าร่วมมหกรรมชุมชนสะอาด มีความพึงพอใจ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมอบรม เรื่องชุมชนปลอดขยะ (2) กิจกรรมการพัฒนาความสะอาดในหมู่บ้าน Big Cleaning (3) กิจกรรมประกวดบ้านสะอาด (4) กิจกรรมมหกรรมชุมชนสะอาด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ อสม.รวมใจ ทำความดีด้วยหัวใจ ลดภัยสิ่งแวดล้อม ร่วมลดขยะมูลฝอยในชุมชน จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L8287-

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายหมัดอุเส็น สามารถ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด