กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา


“ โครงการค่ายอบรมจริยธรรมเยาวชนปลอดสิ่งเสพติดด้วยอิสลาม ภาคฤดูร้อน ปี 2562 ”

ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายอับบาส หวุนกับหมัด

ชื่อโครงการ โครงการค่ายอบรมจริยธรรมเยาวชนปลอดสิ่งเสพติดด้วยอิสลาม ภาคฤดูร้อน ปี 2562

ที่อยู่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L8287-2-14 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการค่ายอบรมจริยธรรมเยาวชนปลอดสิ่งเสพติดด้วยอิสลาม ภาคฤดูร้อน ปี 2562 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการค่ายอบรมจริยธรรมเยาวชนปลอดสิ่งเสพติดด้วยอิสลาม ภาคฤดูร้อน ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการค่ายอบรมจริยธรรมเยาวชนปลอดสิ่งเสพติดด้วยอิสลาม ภาคฤดูร้อน ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L8287-2-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการหนึ่งจากอัลกุรอานที่ศาสนาอิสลามให้การยอมรับคือ ไม่อนุญาติให้มุสลิมรับประทาน หรือ ดื่มและเสพสิ่งใดๆ ที่จะทำให้เสียชีวิตโดยเร็วหรือช้าก็ตาม เช่น ยาพิษทุกชนิด และสิ่งที่ให้โทษหรือที่จะทำให้เกิดความเดือดร้อนต่อตนเองและผู้อื่น โดยอาศัยหลักฐานจากพระมหาคัมภีร์อัลกุรอานที่ว่า "และท่านทั้งหลายอย่านำตนเองสู่ความหายนะ " (ซูเราะห์อัลบะกอเราะห์ โองการที่ 195) และหลักฐานจากอัลฮะดิษที่ว่า " จะต้องไม่ทำความเสียหายต่อตนเองและผู้อื่น " รายงานโดยอะห์มัด ดังนั้นอาศัยหลักการดังกล่าวการสูบบุหรี่ถือว่าเป็นสิ่งต้องห้าม เพราะเป็นที่ปรากฏแน่ชัดว่าการสูบบุหรี่เป็นอันตรายต่อผู้สูบ และบุคคลใกล้ชิด จากข้อมูลของมูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ หัวข้อมูล “สถิติและปัญหาจากการสูบบุหรี่ประเทศไทย” (http://www.smokefreezone.or.th/) ระบุว่า การสูบบุหรี่เป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิตก่อนเวลาที่ป้องกันได้ ซึ่งการสูบบุหรี่ทำให้คนไทยเสียชีวิตปีละ 51,651 คน หรือวันละ 141 คน โดยผู้ที่เสียชีวิตจากการสูบบุหรี่อายุสั้นลง 12 ปี และป่วยหนักโดยเฉลี่ย 2.5 ปีก่อนตาย ขณะที่การสูบบุหรี่เป็นสาเหตุของโรคร้ายแรงหลายโรค เช่น โรคหัวใจ 12.2 ล้านคน โรคเส้นเลือดสมอง 10.2 ล้านคน และหญิงตั้งครรภ์สูบบุหรี่ทำให้คลอดก่อนกำหนด 19.1 ล้านคน การสูบบุหรี่ทำให้เกิดมะเร็ง 12 ชนิด คือ มะเร็งช่องปาก ลำคอและกล่องเสียง หลอดลมและปอด หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลำไส้ใหญ่ ทวารหนัก ตับ ตับอ่อน ไต กระเพาะปัสสาวะ ปากมดลูก และเม็ดเลือดขาว นอกจากนี้จากข้อมูลการสูบบุหรี่ในประเทศไทย ปีพ.ศ.2557 พบว่า มีผู้สูบบุหรี่ 11.4 ล้านคน แบ่งเป็นชาย 10.7 ล้านคน และหญิง 0.6 ล้านคน ส่วนการติดบุหรี่ของเยาวชนไทย พบว่า ปี พ.ศ.2557 มีเยาวชน 200,000 คน เป็นนักสูบหน้าใหม่ หรือคิดเป็น 547 คน/วัน และการสำรวจในเด็กนักเรียนอายุ 13-15 ปี (พ.ศ.2558) พบว่า มีการใช้ยาสูบ 14.0 % บุหรี่ไฟฟ้า 3.3 % โดยเกือบ 1 ใน 4 ของนักเรียนอายุ 13-15 ปี ไม่เคยได้รับการสอนเกี่ยวกับอันตรายของการสูบบุหรี่ต่อสุขภาพ ทั้งนี้ เยาวชนไทยที่ติดบุหรี่ มีพฤติกรรมเสี่ยงเพิ่มขึ้นกว่าเยาวชนที่ไม่สูบบุหรี่ คือ มีโอกาสดิ่มสุรา 3.5 เท่า เที่ยวกลางคืน 3.2 เท่า เล่นการพนัน 3.3 เท่า ใช้ยาเสพติด 17.0 เท่า และมีเพศสัมพันธ์ 3.7 เท่า ส่วนการสำรวจ ปี พ.ศ.2554 ระบุว่า ผู้สูบบุหรี่ส่วนใหญ่ต้องการเลิกสูบบุหรี่ ร้อยละ 54 พยายามที่จะเลิกสูบบุหรี่ ร้อยละ 36.7 และใช้วิธีพยายามเลิกด้วยตนเอง ร้อยละ 90.7 ด้วยเหตุนี้ทางมัสยิดบ้านป่ากอ (โรงเรียนมิตรวิทยา) มองเห็นถึงภัยร้ายที่มาพร้อมกับยาเสพติด ที่ได้เข้ามามีบทบาทในการดำเนินชีวิตของเยาวชนมุสลิม โดยเฉพาะจำนวนของผู้สูบบุหรี่ที่มีจำนวนเพิ่มขึ้นในกลุ่มของเยาวชน จึงได้จัดทำโครงการค่ายอบรมจริยธรรมเยาวชนปลอดสิ่งเสพติดด้วยอิสลาม ภาคฤดูร้อน ปี 2562 ขึ้น เพื่อให้นักเรียนของศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด(ตาดีกา)บ้านป่ากอ (โรงเรียนมิตรวิทยา) จำนวน 80 คน ให้ ได้มีความตระหนักถึงภัยร้ายจากยาเสพติดสร้างเยาวชนแกนนำต่อต้านยาเสพติด ด้วยการสอดแทรกคำสอนจากอัลกุรอานถึงโทษของบุหรี่ และส่งเสริมให้มีการศึกษาและปฏิบัติตามคำสอนของอัลกุรอาน ซึ่งเป็นสิ่งที่ชาวมุสลิมได้ให้การนับถือ ส่งผลให้เกิดการป้องกันการเพิ่มจำนวนของผู้สูบบุหรี่และสารเสพติดอื่น ๆ พัฒนาคุณภาพชีวิตของเยาวชนในชุมชนให้ดียิ่งขึ้นไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจและปลูกจิตสำนึกให้แก่เด็กและเยาวชนนักเรียนศูนย์ฯ(ตาดีกา) บ้านป่ากอ (โรงเรียนมิตรวิทยา) จำนวน 80 ตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกาย สุขภาพอนามัย และส่งผลกระทบต่อปัญหา ครอบครัว สังคม ตลอดจนความมั่นคงของชาติ
  2. ข้อที่ 2เพื่อป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน
  3. ข้อที่ 3 เพื่อสร้างแกนนำเด็กและเยาวชนนักเรียนศูนย์ฯ(ตาดีกา)บ้านป่ากอ (โรงเรียนมิตรวิทยา) ต่อต้านยาเสพติดในชุมชนและครอบครัว
  4. ข้อที่ 4 เพื่อให้เด็กและเยาวชนนักเรียนศูนย์ฯ(ตาดีกา)บ้านป่ากอ (โรงเรียนมิตรวิทยา) ไม่ไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดและอาชญากรรม
  5. ข้อที่ 5 เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีให้แก่กันในครอบครัว

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมค่ายอบรมจริยธรรมเยาวชนปลอดสิ่งเสพติดด้วยอิสลาม ภาคฤดูร้อน ปี 2562

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีความรู้ความเข้าใจและปลูกจิตสำนึกให้แก่เด็กและเยาวชนนักเรียนตาดีกา ตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกาย สุขภาพอนามัย และส่งผลกระทบต่อปัญหา ครอบครัว สังคม ตลอดจนความมั่นคงของชาติ
  2. ป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน
  3. มีแกนนำเด็กและเยาวชนนักเรียนศูนย์ฯ(ตาดีกา)ต่อต้านยาเสพติดในชุมชนและครอบครัว
  4. เด็กและเยาวชนนักเรียนศูนย์ฯ(ตาดีกา) ไม่ไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดและอาชญากรรม
  5. มีความสัมพันธ์ที่ดีให้แก่กันในครอบครัว

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมค่ายอบรมจริยธรรมเยาวชนปลอดสิ่งเสพติดด้วยอิสลาม ภาคฤดูร้อน ปี 2562

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดค่ายอบรมจริยธรรมเยาวชนปลอดสิ่งเสพติดด้วยอิสลาม ภาคฤดูร้อน ปี 2562

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กนักเรียนตาดีกามีความรู้ 80 คน  และสามารถเป็นแกนนำเพื่อนๆได้

 

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจและปลูกจิตสำนึกให้แก่เด็กและเยาวชนนักเรียนศูนย์ฯ(ตาดีกา) บ้านป่ากอ (โรงเรียนมิตรวิทยา) จำนวน 80 ตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกาย สุขภาพอนามัย และส่งผลกระทบต่อปัญหา ครอบครัว สังคม ตลอดจนความมั่นคงของชาติ
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนนักเรียนศูนย์ฯ(ตาดีกา)บ้านป่ากอ (โรงเรียนมิตรวิทยา) ร้อยละ 80 เกิดความรู้ความเข้าใจและมีจิตสำนึกตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกาย สุขภาพอนามัย และส่งผลกระทบต่อปัญหา ครอบครัว สังคม ตลอดจนความมั่นคงของชาติ
80.00 80.00

 

2 ข้อที่ 2เพื่อป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน
ตัวชี้วัด : สามารถป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนร้อยละ 80
80.00 80.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อสร้างแกนนำเด็กและเยาวชนนักเรียนศูนย์ฯ(ตาดีกา)บ้านป่ากอ (โรงเรียนมิตรวิทยา) ต่อต้านยาเสพติดในชุมชนและครอบครัว
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนนักเรียนศูนย์ฯ(ตาดีกา)บ้านป่ากอ (โรงเรียนมิตรวิทยา) ร้อยละ 80 สามารถเป็นแกนนำเด็กและเยาวชนนักเรียนตาดีกา ต่อต้านยาเสพติดในชุมชนและครอบครัว
80.00 80.00

 

4 ข้อที่ 4 เพื่อให้เด็กและเยาวชนนักเรียนศูนย์ฯ(ตาดีกา)บ้านป่ากอ (โรงเรียนมิตรวิทยา) ไม่ไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดและอาชญากรรม
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนนักเรียนศูนย์ฯ(ตาดีกา)บ้านป่ากอ (โรงเรียนมิตรวิทยา) ร้อยละ 80ไม่ไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดและอาชญากรรม
80.00 80.00

 

5 ข้อที่ 5 เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีให้แก่กันในครอบครัว
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนนักเรียนศูนย์ฯ(ตาดีกา)บ้านป่ากอ (โรงเรียนมิตรวิทยา) ร้อยละ 80 เกิดความสัมพันธ์ที่ดีให้แก่กันในครอบครัว
80.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80 80
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจและปลูกจิตสำนึกให้แก่เด็กและเยาวชนนักเรียนศูนย์ฯ(ตาดีกา) บ้านป่ากอ (โรงเรียนมิตรวิทยา) จำนวน 80 ตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกาย สุขภาพอนามัย และส่งผลกระทบต่อปัญหา ครอบครัว สังคม ตลอดจนความมั่นคงของชาติ (2) ข้อที่ 2เพื่อป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน (3) ข้อที่ 3 เพื่อสร้างแกนนำเด็กและเยาวชนนักเรียนศูนย์ฯ(ตาดีกา)บ้านป่ากอ (โรงเรียนมิตรวิทยา) ต่อต้านยาเสพติดในชุมชนและครอบครัว (4) ข้อที่ 4 เพื่อให้เด็กและเยาวชนนักเรียนศูนย์ฯ(ตาดีกา)บ้านป่ากอ (โรงเรียนมิตรวิทยา) ไม่ไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดและอาชญากรรม (5) ข้อที่ 5  เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีให้แก่กันในครอบครัว

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมค่ายอบรมจริยธรรมเยาวชนปลอดสิ่งเสพติดด้วยอิสลาม ภาคฤดูร้อน ปี 2562

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการค่ายอบรมจริยธรรมเยาวชนปลอดสิ่งเสพติดด้วยอิสลาม ภาคฤดูร้อน ปี 2562 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L8287-2-14

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอับบาส หวุนกับหมัด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด