กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ


“ โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลง ตำบลสะเอะ ปีงบประมาณ 2562 ”

อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายยัสรูลดีน กานา

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลง ตำบลสะเอะ ปีงบประมาณ 2562

ที่อยู่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L4114-02-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 กรกฎาคม 2562 ถึง 30 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลง ตำบลสะเอะ ปีงบประมาณ 2562 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลง ตำบลสะเอะ ปีงบประมาณ 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลง ตำบลสะเอะ ปีงบประมาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62-L4114-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 กรกฎาคม 2562 - 30 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาโรคและภัยสุขภาพที่ยังคงมีความสำคัญในระดับประเทศ ได้แก่ โรคติดต่อ ซึ่งมีทั้งโรคติดต่อนำโดยแมลง โรคติดต่อทางระบบทางเดินหายใจ โรคติดต่อระบบทางเดินอาหารและน้ำ โรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน เป็นต้น จากสถานการณ์โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคในพื้นที่จังหวัดยะลา ในปี พ.ศ.2555 - 2560 พบว่า โรคไข้เลือดออกเป็นโรคที่พบการระบาดของโรคตลอดทั้งปี โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝนจะพบผู้ป่วยเป็นจำนวนมาก เนื่องจากฝนที่ตกลงมาทำให้เกิดน้ำขังในภาชนะต่างๆ จึงเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายพาหะนำโรคได้เป็นอย่างดี การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพควรต้องเตรียมพร้อมควบคุมกำจัดยุงลายก่อนจะถึงช่วงฤดูกาลการระบาดของโรค เพื่อลดจำนวนประชากรของยุงลายในพื้นที่ ส่วนการติดต่อของโรคไข้มาลาเรีย มียุงก้นปล่องเป็นพาหะนำโรค การระบาดของโรคมาลาเรียเกิดขึ้นได้ในบริเวณแถบชายแดน หรือบริเวณที่เป็นป่าเขา โดยมียุงก้นปล้องที่มีเชื้อมาลาเรียในต่อมน้ำลายกัดและปล่อยเชื้อเข้าสู่กระแสเลือดคน ซึ่งเป็นวิธีธรรมชาติที่พบได้มากที่สุด
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกของพื้นที่อำเภอกรงปินังในช่วง 5 ปีย้อนหลัง ตั้งแต่ปี 2556 - 2561 พบผู้ป่วยจำนวน 106 ราย อัตราป่วยเท่ากับ 436.๖๗ ต่อแสนประชากร เป็นประชาชนในพื้นที่ตำบลสะเอะ จำนวน 20 ราย อัตราป่วยเท่ากับ ๑๓๗.๖๓ ต่อแสนประชากร และสถานการณ์โรคไข้มาลาเรียของพื้นที่อำเภอกรงปินัง ในช่วง 5 ปีย้อนหลัง ตั้งแต่ปี 2556 - 2561 พบผู้ป่วยจำนวน 432 ราย อัตราป่วยเท่ากับ 1378.๘ ต่อแสนประชากร เป็นประชาชนในพื้นที่ตำบลสะเอะ จำนวน 42 ราย อัตราป่วยเท่ากับ 179.๒๙ ต่อแสนประชากร และมีแนวโน้มการระบาดของโรคที่สูงขึ้นเรื่อยๆในทุกๆปี การพัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (Surveillance and rapid response Team: SRRT) ในเรื่องของการเฝ้าระวังเหตุการณ์ผิดปกติ เป็นกลไกหนึ่งที่ในการจัดการกับปัญหาการเกิดโรค ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข หรือภัยคุกคามสุขภาพมีผลกระทบทางสุขภาพการเจ็บป่วย และเสียชีวิต สามารถรู้เหตุการณ์ของโรคได้อย่างรวดเร็ว และตอบสนองต่อปัญหาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ซึ่งต้องได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เครือข่ายภาคประชาชน อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำชุมชน
ดังนั้น ชมรมควบคุมโรคเข้มแข็งตำบลสะเอะ ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเอะ จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลง ตำบลสะเอะ ปีงบประมาณ 2562 เพื่อเตรียมความพร้อมรับมือของโรคไข้เลือดออกโรคไข้มาลาเรียก่อนฤดูกาลระบาด เพื่อลดอัตราป่วย และการค้นหาผู้ป่วยในพื้นที่ เพื่อป้องกันการระบาดของโรคและลดความเสี่ยงของประชาชนในพื้นที่ต่อการเป็นโรคติดต่อ ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก และโรคไข้มาลาเรียในพื้นที่ตำบลสะเอะ
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพและสร้างความเข้มแข็งของทีมเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ตำบลสะเอะและสร้างเครือข่ายเพื่อเฝ้าระวังและป้องกันโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมรณรงค์และพ่นหมอกควันในสถานที่ราชการ,ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก,โรงเรียนและมัสยิด
  2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการทีม SRRT ตำบลสะเอะร่วมกับทีมอาสาสมัครสาธารณสุข เกี่ยวกับการป้องและควบคุมโรคในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

6.๑. ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลงร้อยละ ๒๐ จากค่ามัธยฐานย้อนหลัง ๕ ปี   6.๒. ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้โรคไข้มาลาเรียลงร้อยละ ๓๐ จากปีที่ผ่านมา
  6.๓. ทีม SRRT เครือข่ายระดับตำบล มีความรู้และความเข้าใจในเรื่องหลักการเฝ้าระวังเหตุการณ์SRRT เครือข่ายระดับตำบล และมีความพร้อมในการมีส่วนร่วมดำเนินการเฝ้าระวังเหตุการณ์ สอบสวน ควบคุมโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก และโรคไข้มาลาเรียในพื้นที่ตำบลสะเอะ
ตัวชี้วัด :
1.00

 

2 เพื่อพัฒนาศักยภาพและสร้างความเข้มแข็งของทีมเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ตำบลสะเอะและสร้างเครือข่ายเพื่อเฝ้าระวังและป้องกันโรค
ตัวชี้วัด :
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก และโรคไข้มาลาเรียในพื้นที่ตำบลสะเอะ (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพและสร้างความเข้มแข็งของทีมเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ตำบลสะเอะและสร้างเครือข่ายเพื่อเฝ้าระวังและป้องกันโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรณรงค์และพ่นหมอกควันในสถานที่ราชการ,ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก,โรงเรียนและมัสยิด (2) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการทีม SRRT ตำบลสะเอะร่วมกับทีมอาสาสมัครสาธารณสุข เกี่ยวกับการป้องและควบคุมโรคในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลง ตำบลสะเอะ ปีงบประมาณ 2562 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L4114-02-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายยัสรูลดีน กานา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด