กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต


“ โครงการส่งเสริมเดินเท้าและปั่นจักรยานไปประกอบศาสนกิจที่มัสยิดตำบลบูกิต ประจำปี 2562 ”

ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายมูหามะนาวารี หะยีดอเลาะ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมเดินเท้าและปั่นจักรยานไปประกอบศาสนกิจที่มัสยิดตำบลบูกิต ประจำปี 2562

ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2479-2-27 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมเดินเท้าและปั่นจักรยานไปประกอบศาสนกิจที่มัสยิดตำบลบูกิต ประจำปี 2562 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมเดินเท้าและปั่นจักรยานไปประกอบศาสนกิจที่มัสยิดตำบลบูกิต ประจำปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมเดินเท้าและปั่นจักรยานไปประกอบศาสนกิจที่มัสยิดตำบลบูกิต ประจำปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L2479-2-27 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,470.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กิจกรรมทางกายเป็นกิจกรรมที่ครอบคลุมการประกอบกิจกรรมในชีวิตประจำวันและในสายอาชีพ การทำกิจกรรมในเวลาว่าง ซึ่งรวมถึงการออกกำลังกาย การเล่นกีฬา การทำกิจกรรมนันทนาการ การท่องเที่ยว ยุทธศาสตร์โลกด้านการลดน้ำหนัก กิจกรรมทางกาย และสุขภาพ (Global Strategy on diet,Physical Activity and health, WHO, 2547) มีข้อเสนอเพื่อเป็นทางเลือกของการทำกิจกรรมทางกาย ดังนี้1. การดำเนินชีวิตประจำวันที่กระฉับกระเฉง (Active living) เป็นกิจกรรมที่ใช้แรงกายน้อยที่สุด ออกแรงเบาๆ อาจจะต่อเนื่องหรือไม่ต่อเนื่องก็ได้ เช่น การเดิน การลุก-นั่ง 2. กิจกรรมเพื่อสุขภาพ (Activity for health) เป็นกิจกรรมที่ต้องใช้แรงปานกลาง (moderate-intensity aerobic physical activities) โดยต้องออกแรงต่อเนื่องอย่างน้อย 30 นาที เช่น การเดิน-วิ่งอย่างน้อย 30 นาที การขี่จักรยาน การเต้นรำ 3. การออกกำลังกายเพื่อสร้างสมรรถภาพทางกาย (Exercise for fitness) เป็นกิจกรรมระดับปานกลางถึงหนัก (Moderate to vigorous-intensity physical activities) โดยทำกิจกรรมอย่างน้อยครั้งละ 20 นาที 3 ครั้ง ต่อสัปดาห์ เช่น การยกน้ำหนัก การวิ่ง 4. การฝึกเพื่อเป็นนักกีฬา (Training for sports) เป็นกิจกรรมการฝึกโดยใช้แรงระดับหนักมาก (Vigorous-intensity activities) สำหรับนักกีฬา โดยทำการฝึกทุกวันในหนึ่งสัปดาห์ สำหรับผู้สูงอายุ65 ปี ขึ้นไป สามารถมีกิจกรรมทางกายเหมือนกับวัยผู้ใหญ่ในช่วงอายุ 18-64 ปี แต่สำหรับผู้ที่มีปัญหาด้านการเคลื่อนไหว ควรมีกิจกรรมเพิ่มความ สมดุลของร่างกาย เช่นฝึกการเดินทรงตัวเพื่อป้องกันการหกล้ม 2 – 3 วันต่อสัปดาห์กิจกรรมที่สร้างความแข็งแรงให้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ ควรทำ 2 – 3วันต่อสัปดาห์ ในกรณีที่ผู้สูงอายุไม่สามารถทำตามข้อแนะนำดังกล่าวได้นั้น ควรจะทำกิจกรรมทางกายตามศักยภาพและเงื่อนไขของร่างกายเท่าที่จะเอื้ออำนวย โดยปกติแล้วคนที่มีน้ำหนัก 50 กิโลกรัม ถ้าเดินในอัตราส่วนประมาณ 3 กิโลเมตร ต่อชั่วโมง (เดินเร็ว) จะใช้ พลังงานไป 2.3-60 = 138 กิโลแคลอรี่ ต่อการเดิน 1 ชั่วโมง (เท่ากับการเผาผลาญข้าวกระเพราไก่ไข่ดาว 1 จาน) แต่ ถ้าขี่จักรยานในอัตราประมาณ10 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จะเผาผลาญสารอาหารและใช้พลังงานในปริมาณไล่ๆ กับการ เดิน 3 กิโลเมตรต่อชั่วโมง นั่นหมายความว่าประโยชน์จากการขี่จักรยานก็คือการเผาผลาญและการใช้พลังงาน ทำให้ลดอัตราการสะสมของไขมันที่ผนังหลอดเลือดนอกจากนั้น การขี่จักรยานอย่างต่อเนื่องเป็นการออกกำลังแบบแอโรบิก ที่มีผลทําให้หัวใจแข็งแรง กล้ามเนื้อหัวใจทํางานได้ดีขึ้นการออกกําลังกายแบบ แอโรบิกต่อเนื่องช่วยทําให้การไหลเวียนของเลือดทั่วร่างกายดีขึ้น รวมถึงเส้นเลือดหล่อเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจและอวัยวะสําคัญในร่างกาย ได้แก่ สมอง ไต ลดการเก็บสะสมตะกรันไขมันในหลอดเลือดทั่วร่างกาย ดังนั้นจึงสามารถป้องกันภาวะเส้นเลือดตีบตันในอวัยวะสําคัญที่ กล่าวข้างต้น นอกจากนั้นการขี่จักรยานยังเป็นการออกกําลังกายแบบแอโรบิกที่ช่วยระบบการหายใจเพิ่มประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ในถุงลมปอดให้ดีขึ้นและยังเพิ่มระดับของฮอร์โมนเอ็นดอร์ฟินอันจะช่วยลดความเครียดในร่างกายให้ลดลงอย่างมีประสิทธิภาพ (ประโยชน์ทางการแพทย์จากการขี่จักรยาน : นพ.ชาญวิทย์โคธีรานุรักษ์ข้อมูลจากนิตยสารHealth Today) และการขี่จักรยานเป็นกิจกรรมที่ง่ายที่สุด ที่ครอบครัวจะทำร่วมกันได้ โดยเฉพาะในสภาพการณ์ปัจจุบันที่การใช้ชีวิตของคนส่วนใหญ่เป็นไปด้วยความเร่งรีบทำให้ไม่มีเวลาทั้งในการออกกำลังกาย การเดินเท้าและปั่นจักรยานไปประกอบศาสนกิจที่มัสยิด ในทุกๆวัน อย่างน้อยวันละ 5 ครั้ง เป็นกิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมให้มีสุขภาพแข็งแรง สามารถลดค่าใช้จ่ายในการครองชีพ ทุกเพศทุกวัยสามารถทำรวมกันได้ ชมรมอิหม่าน คอเต็บ บิหลัน อำเภอเจาะไอร้อง เล็งเห็นความสำคัญในเรื่องของการดูแลรักษาสุขภาพของตนเองของการมีสุขภาพดีที่ครอบคลุมทุกด้านทั้งร่างกายจิตใจการใช้ชีวิตร่วมกันในครอบครัวอย่างมีความสุข จะเป็นพลังในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตจึงจัดโครงการส่งเสริมเดินเท้าและปั่นจักรยานไปประกอบศาสนกิจที่มัสยิดตำบลบูกิต ประจำปี 2562 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพิ่มการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน
  2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสมรรถภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ห่างไกลโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชาสัมพันธ์รับสมัครผู้ที่สนใจเข้าร่วมโครงการ
  2. จัดอบรมการเตรียมความพร้อมความรู้ให้กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีสมรรถภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ห่างไกลโรค

2.ประชาชนเห็นความสำคัญในเรื่องของการดูแลรักษาสุขภาพของตนเอง

3.เกิดการรวมกลุ่มในการใช้จักรยานเพื่อการออกกำลังกายมากขึ้น

4.ประชาชนให้ความร่วมมือและเริ่มหันกลับมาเดินและใช้จักรยานในชีวิตประจำวันเพิ่มมากขึ้นกว่าเดิม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนที่มีการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน
100.00 40.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสมรรถภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ห่างไกลโรค
ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ห่างไกลโรค
100.00 40.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน (2) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสมรรถภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ห่างไกลโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์รับสมัครผู้ที่สนใจเข้าร่วมโครงการ (2) จัดอบรมการเตรียมความพร้อมความรู้ให้กลุ่มเป้าหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมเดินเท้าและปั่นจักรยานไปประกอบศาสนกิจที่มัสยิดตำบลบูกิต ประจำปี 2562 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2479-2-27

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมูหามะนาวารี หะยีดอเลาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด