กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของสถาบันครอบครัว เข้าใจหลักการดำเนินชีวิตที่เหมาะสม รู้เท่าทันและเฝ้าระวังปัญหาของครอบครัวที่อาจเกิดขึ้น สามารถสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างสมาชิกในครอบครัว คือ เกิดความรัก ความเข้าใจและความผูกพันระหว่างพ่อแม่ลูก มีการสื่อสารที่ดีระหว่างสมาชิกในครอบครัว และมีการใช้หลักธรรม (คุณธรรม จริยธรรม) ในการดำเนินชีวิต ส่งเสริมการมีส่วนรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อจะได้ไม่สร้างปัญหาให้กับตนเอง ครอบครัว สังคมและมีส่วนในการป้องกันและแก้ไขปัญหาต่าง ๆ เช่น ยาเสพติด โรคเอดส์ พฤติกรรมทางเพศ เป็นต้น สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัวและชุมชนได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างความรักความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างสมาชิกในครอบครัว
ตัวชี้วัด :
0.00 120.00

 

2 เพื่อให้สมาชิกในครอบครัวได้ตระหนักถึงความสำคัญของสถาบันครอบครัว
ตัวชี้วัด :
0.00 120.00

 

3 เพื่อเพิ่มเติมความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของสมาชิกครอบครัว (บทบาทของสามีภรรยา บทบาทของพ่อแม่ บทบาทของลูก) และปลูกฝังวิถีการดำเนินชีวิตที่ดี
ตัวชี้วัด :
0.00 120.00

 

4 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อจะได้ไม่สร้างปัญหาให้กับตนเอง ครอบครัว สังคม และมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาต่างๆ เช่น ยาเสพติด โรคเอดส์ พฤติกรรมทางเพศ เป็นต้น
ตัวชี้วัด :
0.00 120.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60 60
กลุ่มวัยทำงาน 60 60
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความรักความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างสมาชิกในครอบครัว (2) เพื่อให้สมาชิกในครอบครัวได้ตระหนักถึงความสำคัญของสถาบันครอบครัว (3) เพื่อเพิ่มเติมความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของสมาชิกครอบครัว (บทบาทของสามีภรรยา บทบาทของพ่อแม่ บทบาทของลูก) และปลูกฝังวิถีการดำเนินชีวิตที่ดี (4) เพื่อส่งเสริมการมีส่วนรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อจะได้ไม่สร้างปัญหาให้กับตนเอง ครอบครัว สังคม และมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาต่างๆ เช่น ยาเสพติด โรคเอดส์ พฤติกรรมทางเพศ เป็นต้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้และจัดกิจกรรมนันทนาการเสริมสร้งความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัว

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh