กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบาลอ


“ โครงการคัดแยกขยะเพื่อชุมชนสะอาด ปราศจากโรคภัย ”

ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางดียานา ประจงไสย

ชื่อโครงการ โครงการคัดแยกขยะเพื่อชุมชนสะอาด ปราศจากโรคภัย

ที่อยู่ ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62 – L8413 -02-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 กรกฎาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดแยกขยะเพื่อชุมชนสะอาด ปราศจากโรคภัย จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบาลอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดแยกขยะเพื่อชุมชนสะอาด ปราศจากโรคภัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดแยกขยะเพื่อชุมชนสะอาด ปราศจากโรคภัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62 – L8413 -02-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 กรกฎาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบาลอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาจากขยะมูลฝอยเป็นเรื่องที่มีความสำคัญ เนื่องจากขยะมูลฝอยส่งผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมอย่างเห็นได้ชัด เพื่อลดปัญหาการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะและขยะตกค้างจึงต้องมีการคัดแยกขยะ ให้ถูกประเภทเพื่อสะดวกในการจัดการ เช่น ขยะย่อยสลายได้ก็นาไปทำปุ๋ยหมัก ขยะอันตรายก็นำเข้าสู่ระบบการทำลายที่ปลอดภัย ส่วนขยะที่รีไซเคิลได้ก็นำรวบรวมเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิลเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ใหม่ ส่วนขยะทั่วไปก็นำไปทิ้งหรือนำไปกำจัดอย่างถูกวิธีและตามหลักสุขาภิบาลต่อไป เมื่อเราทราบว่าขยะรีไซเคิล มีชนิดใดบ้างก็สามารถแยกชนิดได้อย่างละเอียดตั้งแต่ในครัวเรือน เมื่อนำไปขายก็จะเพิ่มมูลค่าของขยะรีไซเคิลให้มากขึ้นและง่ายต่อการนำเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิลประเภทนั้น ๆ ขยะมูลฝอยในครัวเรือนโดยทั่วไปสามารถแยกออกเป็นวัสดุรีไซเคิลได้เป็น 4 ประเภท คือ แก้ว กระดาษ พลาสติก โลหะ/อโลหะ ซึ่งเมื่อแยกออกเป็นประเภทต่าง ๆ แล้วมักจะเรียกว่าวัสดุรีไซเคิล
การศึกษามีหลายรูปแบบ เช่น การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการเรียนรู้ตลอดชีวิตซึ่งอาจได้มาจากประสบการณ์จากการทำงาน การเรียนรู้จากสภาพแวดล้อมที่ดีกว่า จะช่วยให้นำความรู้ที่ได้รับจากประสบการณ์จริงเหล่านั้น มาถ่ายทอดปรับปรุงเปลี่ยนแปลงแก้ไขในการพัฒนาท้องถิ่นในแนวทางที่ดีขึ้น เพื่อให้การพัฒนาท้องถิ่นเจริญก้าวหน้าและยั่งยืนตลอดไป ซึ่งสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑1 และตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 13) พ.ศ. 2552 มาตรา 50 ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายเทศบาลตำบลมีหน้าที่ต้องทำในเขตเทศบาล (3) รักษาความสะอาดของถนนหรือทางเดินและที่สาธารณะ รวมทั้งการกำจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
การคัดแยกขยะก่อนทิ้งในครัวเรือน จะช่วยลดปริมาณขยะในครัวเรือนและลดปัญหาขยะที่ตกค้างตามชุมชนทำให้สิ่งแวดล้อมสะอาดได้เป็นอย่างมาก อีกทั้งยังเป็นการลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ลดการใช้พลังงานและลดมลพิษที่จะเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ดังนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ประชาชนจะร่วมมือกันลดและแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น ด้วยการคัดแยกขยะให้ถูกประเภทและนำวัสดุที่สามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้เข้าสู่กระบวนการรีไซเคิลเพื่อใช้ทรัพยากรธรรมชาติได้อย่างคุ้มค่าและยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์พาหะนำโรคติดต่อมาสู่ชุมชนที่เกิดจากปัญหาขยะมูลฝอยตกค้าง
  2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักและเข้าใจการคัดแยกขยะมูลฝอยในครัวเรือน สร้างรายได้จากการจาหน่ายวัสดุรีไซเคิลที่คัดแยกด้วยตนเอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมจัดอมรม ให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย
  2. กิจกรรมจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน 250
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สามารถเพิ่มพูนความรู้ให้แก่ประชาชนในการลดปริมาณขยะมูลฝอยในชุมชน ไปสู่การปฏิบัติจนเป็นวิถีชีวิต (way of life) และลดปริมาณขยะมูลฝอยของชุมชนในอนาคต     2. สามารถสร้างจิตสานึกและกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาขนในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมบริเวณบ้านและลดการเกิดโรคติดต่อได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมจัดอมรม ให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 4 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. เสนอโครงการเพื่อขอรับการอนุมัติ
  2. แต่งตั้งคณะทำงาน
  3. ประชุมชี้แจงคณะทำงาน หน่วยงานเพื่อมอบหมายงานที่รับผิดชอบ
  4. ประชาสัมพันธ์ไปยังกลุ่มเป้าหมาย
  5. ดำเนินการจัดโครงการ   -ประชาสัมพันธ์และรณรงค์ลดการใช้พลาสติกและกล่องโฟม การใช้แก้วและปิ่นโตส่วนตัว   -กิจกรรมจัดอมรม ให้ความรู้กลุ่มเป้าหมายเกี่ยวกับลดและการคัดแยกขยะมูลฝอยจากต้นทางตามหลักการ 3Rs จำนวน 400  คน  โดยแบ่งการอบรมเป็น 5 วัน ตั้งแต่วันที่ 4-8 กันยายน 2562

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. สามารถเพิ่มพูนความรู้ให้แก่ประชาชนในการลดปริมาณขยะมูลฝอยในชุมชน ไปสู่การปฏิบัติจนเป็นวิถีชีวิต (way of life) และลดปริมาณขยะมูลฝอยของชุมชนในอนาคต
  2. สามารถสร้างจิตสานึกและกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาขนในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมบริเวณบ้านและลดการเกิดโรคติดต่อได้

 

200 0

2. กิจกรรมจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ในชุมชน

วันที่ 4 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. เสนอโครงการเพื่อขอรับการอนุมัติ
  2. แต่งตั้งคณะทำงาน
  3. ประชุมชี้แจงคณะทำงาน หน่วยงานเพื่อมอบหมายงานที่รับผิดชอบ
  4. ประชาสัมพันธ์ไปยังกลุ่มเป้าหมาย
  5. ดำเนินการจัดโครงการ -จัดตั้งศูนย์เรียนรู้ในชุมชนในด้านการจัดการขยะ -จัดทำคู่มือการจัดการขยะมูลฝอยและการน้ำไปใช้ประโยชน์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. สามารถเพิ่มพูนความรู้ให้แก่ประชาชนในการลดปริมาณขยะมูลฝอยในชุมชน ไปสู่การปฏิบัติจนเป็นวิถีชีวิต (way of life) และลดปริมาณขยะมูลฝอยของชุมชนในอนาคต           2. สามารถสร้างจิตสานึกและกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาขนในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมบริเวณบ้านและลดการเกิดโรคติดต่อได้

 

200 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์พาหะนำโรคติดต่อมาสู่ชุมชนที่เกิดจากปัญหาขยะมูลฝอยตกค้าง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เพิ่มมากขึ้น จากแบบสอบถามก่อนและหลัง
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักและเข้าใจการคัดแยกขยะมูลฝอยในครัวเรือน สร้างรายได้จากการจาหน่ายวัสดุรีไซเคิลที่คัดแยกด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เพิ่มมากขึ้น จากแบบสอบถามก่อนและหลัง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 400
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน 250
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์พาหะนำโรคติดต่อมาสู่ชุมชนที่เกิดจากปัญหาขยะมูลฝอยตกค้าง (2) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักและเข้าใจการคัดแยกขยะมูลฝอยในครัวเรือน สร้างรายได้จากการจาหน่ายวัสดุรีไซเคิลที่คัดแยกด้วยตนเอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดอมรม ให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย (2) กิจกรรมจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดแยกขยะเพื่อชุมชนสะอาด ปราศจากโรคภัย จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62 – L8413 -02-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางดียานา ประจงไสย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด