กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และมีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กและของตนเองอย่างเหมาะสม (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้เด็กเล็กแรกคลอด – 2 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและทาฟลูออไรด์วาร์นิชโดยทันตบุคลากร (3) ข้อที่ 3เพื่อให้ผู้ดูแลเด็กเล็กแรกคลอด – 2 ปีมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กตามช่วงอายุ (4) ข้อที่ 4 เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/ผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กและของตนเองอย่างเหมาะสม (5) ข้อที่ 5เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ทาฟลูออไรด์วาร์นิชบริการอุดฟัน SMART Technique ตลอดจนส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่เหมาะสม และแปรงฟันได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน (6) ข้อที่ 6 เพื่อให้เด็กในโรงเรียนประถมศึกษาได้รับตรวจสุขภาพช่องปาก ตลอดจนส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่เหมาะสมและแปรงฟันได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน (7) ข้อที่ 7เพื่อให้เด็กในโรงเรียนมัธยมศึกษาชั้น ม.1 ได้รับตรวจสุขภาพช่องปาก ตลอดจนส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่เหมาะสม และแปรงฟันได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน (8) ข้อที่ 8 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้รับตรวจสุขภาพช่องปาก ตลอดจนส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่เหมาะสม (9) ข้อที่ 9 เพื่อให้อสม. ได้รับตรวจสุขภาพช่องปาก ตลอดจนส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่เหมาะสม (10) ข้อที่ 10 เพื่อให้อสม.มีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของแต่ละกลุ่มวัยและของตนเองอย่างเหมาะสม ตลอดจนสามารถคัดกรองรอยโรคมะเร็งเชิงรุกด้วยการเยี่ยมบ้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ (11) ข้อที่ 11 เพื่อให้อสม.ตระหนักและให้ความสำคัญเรื่องสุขภาพช่องปาก และพัฒนาการดำเนินงานเพื่อเป็นตัวแทนการประกวดอสม. เชี่ยวชาญด้านทันตสุขภาพระดับอำเภอเทพา (12) ข้อที่ 12 เพื่อให้สมาชิกชมรมผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ตลอดจนส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่เหมาะสม และเข้าร่วมประชุมประจำเดือนเป็นประจำ ส่งผลให้เกิดความเข็มแข็งภายในชมรม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดซื้อชุดอุปกรณ์ทำความสะอาดช่องปากประชากรทุกกลุ่มวัย (2) จัดมุมทันตสุขศึกษาภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (3) จัดอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนชั้น ป.1- ป.6  และชั้น ม.1- ม.3 (4) จัดอบรมให้ความรู้แก่ ผู้ดูแลเด็กเล็ก/ครูในศพด. และอสม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ